กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ


“ โครงการ ส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2565 ”

ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนอรอไอนิง สะแลแม

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2537-03-04 เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2537-03-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,123.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลยาบาล มีความประสงค์จะจัดทำ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2565 ซึ่งเด็กในวัยนี้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สําคัญต่อการพัฒนาประเทศหากเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสม ส่งเสริมพัฒนาการและประสบการณ์เรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัยของเด็ก ได้รับอาหารถูกหลักโภชนาการซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน“โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุขอาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆทุกวัยทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมเด็กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงพร้อมที่จะเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนูรุลยาบาล ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดโครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
  2. เพื่อให้เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ไขให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โภชนาการในเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 64
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 4
ครู/ผู้ดูแลเด็ก 4

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
  2. เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
  4. ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โภชนาการในเด็กปฐมวัย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมหารือร่วมกับทางคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง
  2. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดทำแผน เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
  4. จัดอบรมตามโครงการ
  5. แบ่งกลุ่มและสาธิตการทำอาหารที่มีประโชน์ต่อเด็ก
  6. ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
  2. เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
  4. ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565
  2. เงินอุดหนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการ จำนวน 17,123.- บาท
  3. เงินอุดหนุนงบประมาณคงเหลือ จำนวน – บาท คืนมาพร้อมหนังสือนี้
  4. ประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ

- เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ - เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน - ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ - ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ไขให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 64
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 4
ครู/ผู้ดูแลเด็ก 4

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ไขให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โภชนาการในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2537-03-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนอรอไอนิง สะแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด