กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้กับประชาชนเข้าถึงการฉีดวัคซีนโควิด-19
รหัสโครงการ 65-L7257-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์
วันที่อนุมัติ 3 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 93,310.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 3000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
40.25
2 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
40.50
3 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการปปฏิบัติตัว การป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19
40.50

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากรายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ที่แพร่ระบาดอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ทำให้มีผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มากขึ้นและมีรายงานผู้เสียชีวิตรายวันเพิ่มขึ้น จากข้อมูลศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 จังหวัดสงขลา ณ วันที่ 17 มกราคม 2565 มีรายงานผู้ติดเชื้อ 47 ราย ผู้ป่วยสมสะ 68,105 ราย รักษาหาย 66,673 ราย และเสียชีวิต 319 ราย จังหวัดสงขลาจึงได้กำหนดจึงได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่มีส่วนในการจัดหาวัคซีนเพื่อนำมาฉีดให้กับประชาชนในพื้นที่ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค การจัดบริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่ ให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงและกลุ่มประชาชนอายุ 18-59 ปี เพื่อให้ประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนครอบคลุมมากที่สุด ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงการใช้วัคซีนที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพและเพื่อป้องกัน ยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ลดการแพร่กระจายของโรคสู่ผู้อื่น ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่และลดอัตราการเสียชีวิต

ข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ข้อมูล ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 - 16 มกราคม 2565 ปรากฏว่าตำบลคอหงส์ มีจำนวนผู้ป่วย COVID-19 สะสม 1,537 ราย เทศบาลเมืองคอหงส์ได้มีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ จึงได้จัดทำโครงการกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้กับประชาชนเข้าถึงการฉีดวัคซันโควิด-19 โดยบูรณาการร่วมกับโรงพยาบาลหาดใหญ่ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

40.25 80.50
2 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19  ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

40.50 90.00
3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการปปฏิบัติตัว การป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19

ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการปปฏิบัติตัว การป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 เพิ่มขึ้น

40.50 95.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 93,310.00 0 0.00
1 เม.ย. 65 - 30 ก.ย. 65 จัดบริการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ 0 93,310.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงและได้รับการฉีดวัคซันในเข็มกระตุ้น ครอบคลุมตามเป้าหมายที่กำหนด
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รีบการฉีดวัคซีนอย่างปลอดภัยตามมาตรฐานการได้รับวัคซีน
  3. อัตราการป่วยด้วยโรคไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2565 15:57 น.