กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน19 พฤษภาคม 2565
19
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลโคกชะงาย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เนื่องจากในช่วงระยะการดำเนินงานตามโครงการมีการระบาดด้วยโรคโควิด 19 จึงไม่ได้ดำเนินการในกิจกรรมนี้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เนื่องจากในช่วงระยะการดำเนินงานตามโครงการมีการระบาดด้วยโรคโควิด 19 จึงไม่ได้ดำเนินการในกิจกรรมนี้

ติดตามเยี่ยมและประเมินผล19 พฤษภาคม 2565
19
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลโคกชะงาย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เนื่องจากในช่วงระยะการดำเนินงานตามโครงการมีการระบาดด้วยโรคโควิด 19 จึงไม่ได้ดำเนินการในกิจกรรมนี้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เนื่องจากในช่วงระยะการดำเนินงานตามโครงการมีการระบาดด้วยโรคโควิด 19 จึงไม่ได้ดำเนินการในกิจกรรมนี้

อบรมเชิงปฏิบัติการลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 30 คนโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 130 คน (แบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 80 คน)18 พฤษภาคม 2565
18
พฤษภาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลโคกชะงาย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เป็นการให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติตัว ในส่วนของพฤติกรรมสุขภาพ การใช้ชีวิตประจำวันในเรื่อง 3 อ 2 ส  คือการปรุงอาหาร/เลือกรับประทานอาหาร อารมณ์ที่อจ่มใส ออกกำลังกาย งดสุรา งดบุหรี่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ รพ.สต.บ้านทุ่งยาว พบว่า ผลการดำเนินงานเมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดของเขตตรวจสุชภาพที่ 12 รพ.สต.บ้านทุ่งยาว ผ่านเกณฑ์ หมายถึงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ดี

ให้สุุขศึกษารายกลุ่มลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง1 ตุลาคม 2564
1
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลโคกชะงาย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการให้ความรู้ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มารับยาที่ รพ.สต.บ้านทุ่งยาว โดยแพทย์ พยาบาล เภสัช เพื่อการดูแลตัวเอง ปฏิบัติตัว มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมของแต่ละโรค แต่ละคนในภาพรวม แต่เมื่อมาพบแพทย์ พยาบาลจะมีการสอบถามอาการ แลกเปลี่ยนร่วมกัน มารับยาเภสัช มีการแนะนำการใช้ยาที่ถูกต้อง กับผู้ป่วยแต่ละคน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

(ู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการที่หน่วยบริการ มีความรู้ ปฏิบัติตัวถูกต้อง มีพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม ส่งผลให้ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังลดลงหรือไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งผลลัพธ์การควบคุมโรคเมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดของเขตตรวจสุขภาพที่ 12 ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด หมายถึงภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังอยู่ใรเกณฑ์ที่ดี