โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเจ๊ะไซต๊ะ เจ๊ะนุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ
มิถุนายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-01-04 เลขที่ข้อตกลง 11/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-50115-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โควิด-19 ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของโลก เปรียบได้กับการทำสงครามโลกครั้งที่ 3 ซึ่งเป็นสงครามระหว่างคนกับไวรัส คู่ต่อสู้ที่จับต้องไม่ได้ มองไม่เห็น และปราศจากรูปแบบการรบตามตำราที่ผ่านมา หากผลกระทบที่รุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในช่วงแรกคือ การบริการสุขภาพที่ต้องปรับตัว ไม่เพียงแค่การดูแลรักษาสำหรับโควิด-19 หากระบบสุขภาพทั้งมวลกลับต้องเปลี่ยนแนวทางการบริการ เนื่องจากเกิดข้อจำกัดต่าง ๆ เช่น การอยู่บ้าน การเว้นระหว่างห่างทางกายภาพ โรงพยาบาลต้องสร้างระบบบริการในรูปแบบใหม่ ๆ ได้แก่ การตรวจผ่านระบบออนไลน์ การส่งยาทางไปรษณีย์ เป็นต้น อีกทั้งมีผลกระทบต่อเนื่องถึงวิถีการดำเนินชีวิตประจำวัน การทำงาน ของประชาชนทุกคนอย่างเลี่ยงไม่ได้ ในสภาวการณ์เช่นนี้ พวกเราทุกคนต้องเรียนรู้ในการปรับตัวและวางแผนต่าง ๆ ให้ทันต่อเหตุการณ์ อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่เรื่องง่ายที่ทุกคนจะสามารถปรับตัวได้ สิ่งสำคัญคือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจะช่วยให้เราได้โอกาสในการเตรียมตัวรับเหตุการณ์ฉุกเฉินที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างไร งานสร้างเสริมสุขภาพจึงเห็นโอกาสที่จะให้บุคลากรและนักศึกษาได้บอกเล่าประสบการณ์ในช่วงวิกฤติโควิด-19 โดยส่งผ่านด้วยงานเขียนหรือคลิปวิดีโอสั้น ๆ เป็นข้อคิด ข้อเสนอแนะ เพื่อถอดบทเรียนถึงผลกระทบของโควิด-19 และเป็นข้อมูลที่นำมาใช้ในการวางแผนรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าสถานการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นอีกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ที่ถูกวิธีและเหมาะสม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดอัตราป่วยโดยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโนน่าโคสิด-19 ในการป้องกันไม่ได้เกิดโรค
- ประชาชนให้ความร่วมมือในการรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ที่ถูกวิธีและเหมาะสม
วันที่ 24 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลกาวะ
- ประชาสัมพันธ์โรคไวรัสโคโรน่า โควิด - 19 ให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือนถึงประโยชน์และโทษของการได้รับวัคซีนและไม่ได้รับวัคซีน
- จัดบริการค้นหาและฉีดวัคซีนเชิงรุกในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ลดอัตราป่วยโดยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
2.ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโนน่าโคสิด-19 ในการป้องกันไม่ได้เกิดโรค
3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
50.00
90.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
40
กลุ่มวัยทำงาน
40
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
20
20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
20
20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวเจ๊ะไซต๊ะ เจ๊ะนุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเจ๊ะไซต๊ะ เจ๊ะนุ
มิถุนายน 2565
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-01-04 เลขที่ข้อตกลง 11/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-50115-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โควิด-19 ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของโลก เปรียบได้กับการทำสงครามโลกครั้งที่ 3 ซึ่งเป็นสงครามระหว่างคนกับไวรัส คู่ต่อสู้ที่จับต้องไม่ได้ มองไม่เห็น และปราศจากรูปแบบการรบตามตำราที่ผ่านมา หากผลกระทบที่รุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในช่วงแรกคือ การบริการสุขภาพที่ต้องปรับตัว ไม่เพียงแค่การดูแลรักษาสำหรับโควิด-19 หากระบบสุขภาพทั้งมวลกลับต้องเปลี่ยนแนวทางการบริการ เนื่องจากเกิดข้อจำกัดต่าง ๆ เช่น การอยู่บ้าน การเว้นระหว่างห่างทางกายภาพ โรงพยาบาลต้องสร้างระบบบริการในรูปแบบใหม่ ๆ ได้แก่ การตรวจผ่านระบบออนไลน์ การส่งยาทางไปรษณีย์ เป็นต้น อีกทั้งมีผลกระทบต่อเนื่องถึงวิถีการดำเนินชีวิตประจำวัน การทำงาน ของประชาชนทุกคนอย่างเลี่ยงไม่ได้ ในสภาวการณ์เช่นนี้ พวกเราทุกคนต้องเรียนรู้ในการปรับตัวและวางแผนต่าง ๆ ให้ทันต่อเหตุการณ์ อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่เรื่องง่ายที่ทุกคนจะสามารถปรับตัวได้ สิ่งสำคัญคือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจะช่วยให้เราได้โอกาสในการเตรียมตัวรับเหตุการณ์ฉุกเฉินที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างไร งานสร้างเสริมสุขภาพจึงเห็นโอกาสที่จะให้บุคลากรและนักศึกษาได้บอกเล่าประสบการณ์ในช่วงวิกฤติโควิด-19 โดยส่งผ่านด้วยงานเขียนหรือคลิปวิดีโอสั้น ๆ เป็นข้อคิด ข้อเสนอแนะ เพื่อถอดบทเรียนถึงผลกระทบของโควิด-19 และเป็นข้อมูลที่นำมาใช้ในการวางแผนรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าสถานการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นอีกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ที่ถูกวิธีและเหมาะสม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 20 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 20 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดอัตราป่วยโดยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโนน่าโคสิด-19 ในการป้องกันไม่ได้เกิดโรค
- ประชาชนให้ความร่วมมือในการรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ที่ถูกวิธีและเหมาะสม |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ลดอัตราป่วยโดยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2.ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโนน่าโคสิด-19 ในการป้องกันไม่ได้เกิดโรค 3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง |
50.00 | 90.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | 160 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 20 | 20 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 20 | 20 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโควิค-19 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวเจ๊ะไซต๊ะ เจ๊ะนุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......