กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ห่วงใย ใส่ใจ ลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ห่วงใย ใส่ใจ ลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5273-1-2 เลขที่ข้อตกลง 10/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ห่วงใย ใส่ใจ ลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ห่วงใย ใส่ใจ ลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ห่วงใย ใส่ใจ ลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5273-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้าน ยังมีร้านค้าในชุมชนหรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้าน ประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภค อาจตกเป็นเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลฉลุงจึงมีแผนที่จะให้มีโครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ตำบลฉลุง วัตถุประสงค์เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชนฯลฯ ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่ายในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
  2. ข้อ 2 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและตรวจสอบร้านค้าและร้านจำหน่ายอาหารภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย (ศูนย์แจ้งเตือนภัย ในชุมชน/โรงเรียน)
  3. ข้อ 3.เพื่อลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตรายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดประชุมให้ความรู้
  2. กิจกรรมฝึกปฎิบัติชุดทดสอบ
  3. อบรมพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่าย
  4. การฝึกใช้ชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีการดำเนินงานศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพ Single Window ในพื้นที่ตำบลฉลุงอย่างต่อเนื่อง 2.แกนนำและประชาชนผู้บริโภคมีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร 3.ประชาชนผู้บริโภคมีภูมิคุ้มกัน รู้เท่ารู้ทัน ไม่เป็นเหยื่่อ ถูกหลอกลวง 4.เกิดภาคีเครือข่ายชุมชนในหมู่บ้าน และโรงเรียนสามารถดำเนินการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่าย

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แกนนำส่งเสริมสุขภาพ เรื่องอาหารปลอดภัย 1.ทอสอบความรู้ก่อนการอบรม โดยใช้แบบสอบถาม 2.บรรยายใหความรู้โดยเจ้าหน้าที่จากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่ เรื่องการตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร  เรื่องการตรวจสอบสุขภาพคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ การใช้หน้าต่างเตือนภัยการใช้หน้าต่างเตือนภัย สุขภาพของกรมวิทยาศาสตร์แพทย์  3.ฝึกปฏิบัติตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ  การสาธิตการตรวจสารปนเปื้อน 5 ชนิด และการตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและยาโดยใช้ชุดทดสอบ  ฝึกปฏิบัติการใช้ชุดทดสอบในการตรวจสารปนเปื้อน 5 ชนิด และการตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ เครื่องสำอางและยา  4.ทดสอบความรู้หลังอบรม โดยใช้แบบสอบถาม กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร, แผงลองจำหน่ายอาหาร 1.ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม  โดยใช้แบบสอบถาม 2.บรรยายให้ความรู้โดยเจ้าหน้าที่จากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่  บรรยาย  เรื่องสุขาภิบาลอาหาร 3.ฝึกปฏิบัติตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ 4.ทดสอบความรู้หลังอบรม โดยใช้แบบสอบถาม 5.สรุปผลการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำ  ประชาชนผู้บริโภคมีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร  ได้มีความรู้ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย  ไม่หลงเชื่อโฆษณาที่มีลักษณะโอ้อวดเกินจริง  และสามารถสร้างภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

 

50 0

2. การฝึกใช้ชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อน

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร ตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในชุมชน 1.แกนนำส่งเสริมสุขภาพเก็บตัวอย่างอาหารในชุมชน ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ทุก ๆ 3 เดือน 2.แจ้งผลการตรวจให้กับผู้ประกอบการทราบ 3.สรุปผลการดำเนินการ กิจกรรมประเมินติดตามการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร 1.ออกตรวจร้านอาหาร 2.แจ้งผลการตรวจให้กับผู้ประกอบการทราบกรณีที่ไม่ผ่านเกณฑ์ให้คำแนะนำและตรวจประเมินซ้ำ 3.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ตรวจร้านชำโดยภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน  จำนวน 20 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 ของร้านทั้งหมด 20 ร้าน 2.ตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ จำนวน  25 รายการผลการตรวจ  พบสารปรอทปนเปื้อน จำนวน 1 รายการ ในครีมทาหน้าขมิ้นเฮิร์บ 3.ตรวจประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 22 แผง คิดเป็นร้อยละ 100  ของทั้งหมด 22  แผง  ผ่านเกณฑ์  จำนวน 20 แผง คิดเป็นร้อยละ 90.90 4.ตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของ ผู้สัมผัสอาหาร อาหาร ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยา SI 2 แก่ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 22 ร้าน  ของทั้งหมด 22 ร้าน  ได้ผลการตรวจประเมิน  ผ่านเกณฑ์  จำนวน 20 แผง คิดเป็นร้อยละ 90.90 5.เกิดภาคีเครือข่่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน  โดยมีการจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน 1 ชุมชน โดยมีเครือข่าย อาสาสมัครสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มภาคีเครือข่ายผู้นำชุมชน 6.ประชาสัมพันธ์การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย โดยศูนย์แจ้งเตือนภัยในชุมชน 7.เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจสารปนเปื้อนอาหาร จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ สารกันรา สารฟอกขาว น้ำมันทอดซ้ำ (โพล่าร์) สารบอแรกส์ จำนวน 20 ร้าน ร้านละ 10 ตัวอย่าง รวมเป็น 200 ตัวอย่าง -สารกันรา  จำนวน 40 ตัวอย่าง  ไม่พบสารกันราในอาหารทั้ง 40 ตัวอย่าง -สารฟอกขาว  จำนวน 50 ตัวอย่าง พบสารฟอกขาวในถั่วงอก และหน่อไม้ดอง ขิงซอย จำนวน  3 ตัวอย่าง -สารบอแรกส์ จำนวน 40 ตัวอย่าง  พบสารบอแรกส์ ในลูกชิ้น และไส้กรอก พบสารบอแรกส์ จำนวน 4 ตัวอย่าง -น้ำมันทอดซ้ำ (โพล่าร์)  จำนวน 20 ตัวอย่าง  ไม่พบสารโพล่าร์  ในน้ำมัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่ายในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องไม่หลงเชื่อโฆษณาที่มีลักษณะโอ้อวดเกินจริง
0.00

 

2 ข้อ 2 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและตรวจสอบร้านค้าและร้านจำหน่ายอาหารภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย (ศูนย์แจ้งเตือนภัย ในชุมชน/โรงเรียน)
ตัวชี้วัด : เกิดภาคีเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
0.00

 

3 ข้อ 3.เพื่อลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตรายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนลดการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย 50%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่ายในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน (2) ข้อ 2 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและตรวจสอบร้านค้าและร้านจำหน่ายอาหารภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย (ศูนย์แจ้งเตือนภัย ในชุมชน/โรงเรียน) (3) ข้อ 3.เพื่อลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตรายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดประชุมให้ความรู้ (2) กิจกรรมฝึกปฎิบัติชุดทดสอบ (3) อบรมพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่าย (4) การฝึกใช้ชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ห่วงใย ใส่ใจ ลดผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5273-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด