กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ลดเสี่ยงลดโรค (ความดัน เบาหวาน) ดาริง ปี 65 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาติเมาะ ดือเระ

ชื่อโครงการ ลดเสี่ยงลดโรค (ความดัน เบาหวาน) ดาริง ปี 65

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3065-2-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ลดเสี่ยงลดโรค (ความดัน เบาหวาน) ดาริง ปี 65 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ลดเสี่ยงลดโรค (ความดัน เบาหวาน) ดาริง ปี 65



บทคัดย่อ

โครงการ " ลดเสี่ยงลดโรค (ความดัน เบาหวาน) ดาริง ปี 65 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3065-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างการ เช่น ตา ไต หลอดเลือดสมอง ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ปัจจุบันประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านาการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งทางการตลาด การสื่อสารและการการคมนาคมรวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ปัจจุบันและอนาคตปัญหาสุขภาพดูแนวโน้มแล้วปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2563 – 2564 จากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 19 ทีมีการระบาดทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย และพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านดาริง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ยิ่งส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ประชาชนมีความวิตกกังวล ใช้ชีวิตที่ลำบากวิถีชีวิตต้องเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยสิ้นเชิง สุขภาพกาย ใจ ถดถอยลง คาดการณ์ว่าประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป เป็นความดัน และเบาหวานเพิ่มขึ้น จากข้อมูลการคัดกรองโรคของชมรม อสม.ร่วมกับรพ.หนองจิก ตั้งแต่ปี 2562 – 2564 พบว่าร้อยละของประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันและเบาหวาน ในปี 2562 ร้อยละ 5 และ 1.4 ปี 2563 ร้อยละ 5.9 และ 1.8 ปี 2564 ร้อยละ 6.53 และ 2.43 ตามลำดับ
จากข้อมูลดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดาริง หมู่ที่ 4 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เห็นควรที่จะต้องมีการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังโรค อย่างเร่งด่วน เพื่อเป็นการคัดกรองโรคที่จะเกิดขึ้นและนำกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวมาเข้าสู่กระบวนการพัฒนาองค์ความรู้ การปฏิบัติตัว และเข้าสู่ระบบการส่งต่ออย่างทันท่วงที จึงได้ทำโครงการลดเสี่ยง ลดโรค (ความดัน เบาหวาน) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนำไปปฏิบัติและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ
  2. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้และมีบทบาทในการจัดการสุขภาพเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาเครือข่ายสร้างการมีส่วนร่วม
  2. รุกชุมชน คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
  3. ปิงปองจราจร 7 สี
  4. รุกชุมชน เยี่ยมบ้าน ติดตามกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วย
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 871
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม
  2. เกิดการพัฒนาการดำเนินงานปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค ในประชาชนทั่วไป
  3. ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาเครือข่ายสร้างการมีส่วนร่วม

วันที่ 30 เมษายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเครือข่ายสุขภาพเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆตามแผนการดำเนินงาน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  20 มื้อ x 25 บาท  เป็นเงิน  500.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการมีส่วนร่วม

 

0 0

2. รุกชุมชน คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เบื้องต้น  ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ (งดอาหาร 8 ชม. ก่อนตรวจ) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 200 มื้อ x 25 บาท  เป็นเงิน 5,000.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค้นพบกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อการส่งต่อตามระบบต่อไป

 

0 0

3. ปิงปองจราจร 7 สี

วันที่ 5 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาองค์ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง โดยการจัดกิจกรรม ปิงปองจราจร 7 สี อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ - ค่าอาหารกลางวัน 60 มื้อ x 60 บาท  เป็นเงิน 3,600.-บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 60 มื้อ x 35บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 4,200.-บาท
- ค่าวิทยาการ 4 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  2,400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการเรียนรู้พัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างการ เช่น ตา ไต หลอดเลือดสมอง ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ปัจจุบันประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านาการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งทางการตลาด การสื่อสารและการการคมนาคมรวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ปัจจุบันและอนาคตปัญหาสุขภาพดูแนวโน้มแล้วปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2563 – 2564 จากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 19 ทีมีการระบาดทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย และพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านดาริง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ยิ่งส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ประชาชนมีความวิตกกังวล ใช้ชีวิตที่ลำบากวิถีชีวิตต้องเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยสิ้นเชิง สุขภาพกาย ใจ ถดถอยลง คาดการณ์ว่าประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป เป็นความดัน และเบาหวานเพิ่มขึ้น จากข้อมูลการคัดกรองโรคของชมรม อสม.ร่วมกับรพ.หนองจิก ตั้งแต่ปี 2562 – 2564 พบว่าร้อยละของประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันและเบาหวาน ในปี 2562 ร้อยละ 5 และ 1.4 ปี 2563 ร้อยละ 5.9 และ 1.8 ปี 2564 ร้อยละ 6.53 และ 2.43 ตามลำดับ
จากข้อมูลดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดาริง หมู่ที่ 4 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เห็นควรที่จะต้องมีการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังโรค อย่างเร่งด่วน เพื่อเป็นการคัดกรองโรคที่จะเกิดขึ้นและนำกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวมาเข้าสู่กระบวนการพัฒนาองค์ความรู้ การปฏิบัติตัว และเข้าสู่ระบบการส่งต่ออย่างทันท่วงที จึงได้ทำโครงการลดเสี่ยง ลดโรค (ความดัน เบาหวาน) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนำไปปฏิบัติและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (ปชก. 871 คน 50%=436 คน)
871.00 436.00 450.00

 

2 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้และมีบทบาทในการจัดการสุขภาพเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีความรู้การดูแลสุขภาพและเฝ้าระวังโรค
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 871 87
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 871 87
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน  ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ (2) เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้และมีบทบาทในการจัดการสุขภาพเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาเครือข่ายสร้างการมีส่วนร่วม (2) รุกชุมชน คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย (3) ปิงปองจราจร 7 สี (4) รุกชุมชน เยี่ยมบ้าน ติดตามกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วย (5) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ลดเสี่ยงลดโรค (ความดัน เบาหวาน) ดาริง ปี 65 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3065-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปาติเมาะ ดือเระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด