โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) ”
ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
หัวหน้าโครงการ
นางปิ่นแก้ว ครองยุติ ตำแหน่ง ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ตำบลสร้างถ่อ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ)
ที่อยู่ ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ L660425653001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ L660425653001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพสังคมในปัจจุบันตำบลสร้างถ่อมีผู้สูงอายุที่ต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบันทั้งด้านความคิด ความเข้าใจและค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจแยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิตประกอบกับวัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น กระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุและหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
องค์การบริหารส่วนตำบลสร้างถ่อ จำนวน ๑๗ หมู่บ้าน มีพื้นที่ ๗๕ ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากร9,487 คน แยกเป็นเพศชาย 4,721 คน (ร้อยละ 49.77) เพศหญิง 4,766 คน (ร้อยละ 50.23) จำนวน 2,668 ครัวเรือน จากการสำรวจข้อมูล TCNAP PLUS พบว่าตำบลสร้างถ่อมีประชากรที่เตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (๕๐-๕๙ ปี) จำนวน ๑,๔๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๙๓ ของจำนวนประชากรมีผู้สูงอายุจำนวน 1,832 คน แยกเป็น ชาย 854 คน หญิง 978 คน คิดเป็นร้อยละ 19.20ของจำนวนประชากร ครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุ จำนวน ๗๕๔ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.02 ของจำนวนครัวเรือนทั้งตำบล ซึ่งส่วนใหญ่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่กับลูกหลาน จำนวน ๗๒๓ ครัวเรือน ร้อยละ ๙๕.๘๙ รองลงมาคือผู้สูงอายุอาศัยกับผู้สูงอายุ จำนวน ๑๙ ครัวเรือน ร้อยละ ๒.๕๑ อาศัยตามลำพัง ๑๒ ครัวเรือน ร้อยละ ๑.๕๙ มีผู้สูงอายุที่เป็นผู้พิการ จำนวน 326 คน คิดเป็นร้อยละ 17.79 ของจำนวนประชากรผู้สูงอายุมีผู้สูงอายุที่ป่วยติดบ้านติดเตียง จำนวน 200 คน ร้อยละ 10.92 มีผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง จำนวน 3 คน ร้อยละ 1.5ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมเสี่ยง จำนวน ๑,๐๖๒ คน ร้อยละ ๕๙.๖๓ แยกเป็นชาย ๓๑๒ คน ร้อยละ ๑๗.๕๒ หญิง ๗๕๐ ร้อยละ ๔๒.๑๑ มีความเครียด จำนวน ๑๓๐ คน ร้อยละ ๑๔.๘๙ ไม่ได้ออกกำลังกาย จำนวน ๑๑๒ คน ร้อยละ ๑๒.๘๒ ทำงานหนักพักผ่อนน้อย จำนวน ๑๐๒ คน ร้อยละ ๑๑.๖๘ ดื่มสุราเป็นประจำ จำนวน ๘๕ คน ร้อยละ ๙.๗๓ ไม่ได้ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน ๘๕ คน ร้อยละ ๙.๗๓ ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง จำนวน ๑,๔๘๙ คน ร้อยละ ๘๓.๖๐ แยกเป็นชาย ๖๖๗ คน ร้อยละ ๓๗.๔๕ หญิง ๘๒๒ คน ร้อยละ ๔๖.๑๕ ผู้สูงอายุที่ป่วยเรื้อรังจากมากไปหาน้อย ๗ อันดับ ดังนี้ กลุ่มโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๕๖๘ คน ร้อยละ ๓๘.๑๔ กลุ่มโรคเบาหวาน จำนวน ๒๕๖ คน ร้อยละ ๑๗.๑๙ กลุ่มโรคไขมันในเลือด จำนวน ๒๒๒ คน ร้อยละ ๑๔.๙๑ กลุ่มโรคกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ จำนวน ๑๗๗ คน ร้อยละ ๑๑.๘๙ โรคภูมิแพ้ จำนวน ๑๗๑ ร้อยละ ๑๑.๔๘ โรคอ้วน จำนวน ๑๓๐ คน ร้อยละ ๘.๗๓ โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร จำนวน ๘๒ คน ร้อยละ ๕.๕๑ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ ได้มองเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2565 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
- ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
- ติดตามประเมินผล
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ประยุกต์ใช้หมอลำกลอน(โดยนักร้องหมอลำในหมู่บ้าน) และประยุกต์ท่ามวยไทยประกอบเพลง (โดยนายกฯเเป็นอดีตนักมวย)
- กิจกรรมอบรมพัฒนาแกนนำเพื่อขับเคลื่อนการทำกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน
- ผู้สูงอายุทำกิจกรรมทางกายตามความเหมาะสมในโรงเรียนผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุรวมกลุ่มจัดกิจกรรมทางกายในหมู่บ้าน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- ติดตามประเมินผลการมีกิจกรรมทางกาย โดย อสม.สำรวจข้อมูล
- รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล รายงานผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,625
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ในการปฏิบัติตนและดูแลตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย
2.ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพจิตที่ดีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
3.ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ทำกิจกรรมด้านสุขภาพร่วมกันเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจผู้สูงอายุใน
การดำเนินชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
ผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายยังไม่เพียงพอ 925 คน (เป้าหมาย 1 ปี ส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางกายเพียงพออย่างน้อย 400 คน)
67.54
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1625
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,625
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (2) ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (3) ติดตามประเมินผล (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ประยุกต์ใช้หมอลำกลอน(โดยนักร้องหมอลำในหมู่บ้าน) และประยุกต์ท่ามวยไทยประกอบเพลง (โดยนายกฯเเป็นอดีตนักมวย) (5) กิจกรรมอบรมพัฒนาแกนนำเพื่อขับเคลื่อนการทำกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน (6) ผู้สูงอายุทำกิจกรรมทางกายตามความเหมาะสมในโรงเรียนผู้สูงอายุ (7) ผู้สูงอายุรวมกลุ่มจัดกิจกรรมทางกายในหมู่บ้าน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง (8) ติดตามประเมินผลการมีกิจกรรมทางกาย โดย อสม.สำรวจข้อมูล (9) รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล รายงานผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ L660425653001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปิ่นแก้ว ครองยุติ ตำแหน่ง ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ตำบลสร้างถ่อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) ”
ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
หัวหน้าโครงการ
นางปิ่นแก้ว ครองยุติ ตำแหน่ง ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ตำบลสร้างถ่อ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ L660425653001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ L660425653001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพสังคมในปัจจุบันตำบลสร้างถ่อมีผู้สูงอายุที่ต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบันทั้งด้านความคิด ความเข้าใจและค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจแยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิตประกอบกับวัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น กระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุและหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
องค์การบริหารส่วนตำบลสร้างถ่อ จำนวน ๑๗ หมู่บ้าน มีพื้นที่ ๗๕ ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากร9,487 คน แยกเป็นเพศชาย 4,721 คน (ร้อยละ 49.77) เพศหญิง 4,766 คน (ร้อยละ 50.23) จำนวน 2,668 ครัวเรือน จากการสำรวจข้อมูล TCNAP PLUS พบว่าตำบลสร้างถ่อมีประชากรที่เตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (๕๐-๕๙ ปี) จำนวน ๑,๔๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๙๓ ของจำนวนประชากรมีผู้สูงอายุจำนวน 1,832 คน แยกเป็น ชาย 854 คน หญิง 978 คน คิดเป็นร้อยละ 19.20ของจำนวนประชากร ครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุ จำนวน ๗๕๔ ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.02 ของจำนวนครัวเรือนทั้งตำบล ซึ่งส่วนใหญ่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่กับลูกหลาน จำนวน ๗๒๓ ครัวเรือน ร้อยละ ๙๕.๘๙ รองลงมาคือผู้สูงอายุอาศัยกับผู้สูงอายุ จำนวน ๑๙ ครัวเรือน ร้อยละ ๒.๕๑ อาศัยตามลำพัง ๑๒ ครัวเรือน ร้อยละ ๑.๕๙ มีผู้สูงอายุที่เป็นผู้พิการ จำนวน 326 คน คิดเป็นร้อยละ 17.79 ของจำนวนประชากรผู้สูงอายุมีผู้สูงอายุที่ป่วยติดบ้านติดเตียง จำนวน 200 คน ร้อยละ 10.92 มีผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียง จำนวน 3 คน ร้อยละ 1.5ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมเสี่ยง จำนวน ๑,๐๖๒ คน ร้อยละ ๕๙.๖๓ แยกเป็นชาย ๓๑๒ คน ร้อยละ ๑๗.๕๒ หญิง ๗๕๐ ร้อยละ ๔๒.๑๑ มีความเครียด จำนวน ๑๓๐ คน ร้อยละ ๑๔.๘๙ ไม่ได้ออกกำลังกาย จำนวน ๑๑๒ คน ร้อยละ ๑๒.๘๒ ทำงานหนักพักผ่อนน้อย จำนวน ๑๐๒ คน ร้อยละ ๑๑.๖๘ ดื่มสุราเป็นประจำ จำนวน ๘๕ คน ร้อยละ ๙.๗๓ ไม่ได้ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน ๘๕ คน ร้อยละ ๙.๗๓ ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง จำนวน ๑,๔๘๙ คน ร้อยละ ๘๓.๖๐ แยกเป็นชาย ๖๖๗ คน ร้อยละ ๓๗.๔๕ หญิง ๘๒๒ คน ร้อยละ ๔๖.๑๕ ผู้สูงอายุที่ป่วยเรื้อรังจากมากไปหาน้อย ๗ อันดับ ดังนี้ กลุ่มโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๕๖๘ คน ร้อยละ ๓๘.๑๔ กลุ่มโรคเบาหวาน จำนวน ๒๕๖ คน ร้อยละ ๑๗.๑๙ กลุ่มโรคไขมันในเลือด จำนวน ๒๒๒ คน ร้อยละ ๑๔.๙๑ กลุ่มโรคกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ จำนวน ๑๗๗ คน ร้อยละ ๑๑.๘๙ โรคภูมิแพ้ จำนวน ๑๗๑ ร้อยละ ๑๑.๔๘ โรคอ้วน จำนวน ๑๓๐ คน ร้อยละ ๘.๗๓ โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร จำนวน ๘๒ คน ร้อยละ ๕.๕๑ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ ได้มองเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2565 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
- ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
- ติดตามประเมินผล
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ประยุกต์ใช้หมอลำกลอน(โดยนักร้องหมอลำในหมู่บ้าน) และประยุกต์ท่ามวยไทยประกอบเพลง (โดยนายกฯเเป็นอดีตนักมวย)
- กิจกรรมอบรมพัฒนาแกนนำเพื่อขับเคลื่อนการทำกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน
- ผู้สูงอายุทำกิจกรรมทางกายตามความเหมาะสมในโรงเรียนผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุรวมกลุ่มจัดกิจกรรมทางกายในหมู่บ้าน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- ติดตามประเมินผลการมีกิจกรรมทางกาย โดย อสม.สำรวจข้อมูล
- รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล รายงานผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,625 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ในการปฏิบัติตนและดูแลตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย 2.ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพจิตที่ดีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3.ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ทำกิจกรรมด้านสุขภาพร่วมกันเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจผู้สูงอายุใน การดำเนินชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) ผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายยังไม่เพียงพอ 925 คน (เป้าหมาย 1 ปี ส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางกายเพียงพออย่างน้อย 400 คน) |
67.54 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1625 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,625 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (2) ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (3) ติดตามประเมินผล (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ประยุกต์ใช้หมอลำกลอน(โดยนักร้องหมอลำในหมู่บ้าน) และประยุกต์ท่ามวยไทยประกอบเพลง (โดยนายกฯเเป็นอดีตนักมวย) (5) กิจกรรมอบรมพัฒนาแกนนำเพื่อขับเคลื่อนการทำกิจกรรมทางกายของผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้าน (6) ผู้สูงอายุทำกิจกรรมทางกายตามความเหมาะสมในโรงเรียนผู้สูงอายุ (7) ผู้สูงอายุรวมกลุ่มจัดกิจกรรมทางกายในหมู่บ้าน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง (8) ติดตามประเมินผลการมีกิจกรรมทางกาย โดย อสม.สำรวจข้อมูล (9) รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล รายงานผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว (โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสร้างถ่อ) จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ L660425653001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปิ่นแก้ว ครองยุติ ตำแหน่ง ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ตำบลสร้างถ่อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......