กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา(Covid-19) โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางภิญโญ อ่อนคง

ชื่อโครงการ โครงการการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา(Covid-19) โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5313-02-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา(Covid-19) โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา(Covid-19) โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา(Covid-19) โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5313-02-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,305.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้น สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19
ยังทวีความรุ่นแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่รวมทั้งพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และปัจจุบันการระบาดของ โควิด - 19 โดย เฉพาะสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวล ฉะนั้นการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อย่างเคร่งครัด จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม มีจำนวนนักเรียน 78 คน จำนวนครูและบุคลากร จำนวน 15 คน รวม 93 คน และทางรัฐบาลมีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting(เปิดเทอมปลอดภัยห่างไกลโควิด-19) ดังนั้นโรงเรียนจึงให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคลากร ควบคู่กับการรักษาไว้ซึ่งคุณภาพการศึกษา ที่ผ่านมาได้มีกิจกรรมให้ครู และนักเรียนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ครบถ้วน และมีแผนการประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงและสุ่มตรวจ ATK เชิงรุกในกลุ่มบุคลากรและนักเรียนในสังกัดเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็มได้เปิดทำการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 โดยจัดการเรียนการสอนภายใต้มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทั้ง 4 ด้าน คือ มาตรการด้านกายภาพ มาตรการด้านการมีส่วนร่วม มาตรการด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ และมาตรการด้านการดำเนินการของโรงเรียนหรือสถานศึกษา โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตั้งรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
  2. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความตระหนักในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) 2 วัน
  2. กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและ ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการตรวจหาเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Swab) ด้วย Antigen Test Kit (ATK)
  3. 3. กิจกรรมติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีการจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคป้องกันโรคการคัดกรองอุณหภูมิการเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่
    ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานาน และส่งเสริมด้านสุขอนามัยโดยการล้างมือด้วยสบู่ หรือ
    เจลแอลกอฮอล์ ในโรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม
  2. มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด - 19 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID 19) ให้กับนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม
  3. นักเรียน ครูและบุคลากรมีความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019
    (COVID - 19)
  4. นักเรียนและบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
  5. นักเรียนและบุคลากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต้องมีการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Swab) ด้วย Antigen Test Kit (ATK)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)  2 วัน วันที่1 ระดับชั้น อ.2-ป.6 นักเรียน จำนวน 39 คน -ค่าวิทยากร  600 บาท x 3 ชม. =1800  บาท -ค่าอาหารบุคคลากรโรงเรียน  80 บาทx8คน=640 บาท -ค่าอาหารกลางวันวิทยากร  80 บาท=80บาท -ค่าอาหารว่างนักเรียน  35 บาทx41 คนx2มื้อ= 2870 บาท -ค่าอาหารว่างบุคลากรโรงเรียน 35 บาทx8คนx2มื้อ=560บาท -ค่าอาหารว่างวิทยากร  35 บาท x2มื้อ=70บาท วันที่2 ระดับชั้น ม.1-ม.3 นักเรียน  จำนวน 39 -ค่าวิทยากร  600 บาทx3 ชม.=1800 บาท -ค่าอาหารบุคคลากรโรงเรียน 80 บาทx7คน=560  บาท -ค่าอาหารกลางวันวิทยากร 80บาท=80บาท -ค่าอาหารว่างนักเรียน 35x26คนx2มื้อ=1820 มื้อ -ค่าอาหารว่างบุคลากรโรงเรียน 35 บาทx7 คนx2มื้อ=490 บาท -ค่าอาหารว่างวิทยากร 35บาทx2มื้อ=70บาท -ค่าป้ายไวนิล เมตรละ 150 บาทx1x2เมตร จำนวน 1แผ่น (ป้ายจัดอบรม) -ค่าป้ายไวนิล  เมตรละ  150 บาท1x1.5เมตร จำนวน 5 แผ่น(จุดล้างมือแต่ละอาคาร)=1125 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ครู  และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและ ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการตรวจหาเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Swab) ด้วย Antigen Test Kit (ATK)

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Swab)ด้วย ATK -เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรด จำนวน 1 เครื่อง  =2200 บาท -แอลกอฮอล์สเปรย์  ขนาด 1000 ml จำนวน 10 ขวด ขวดละ396 บาท= 3960 บาท -สบู่เหลวล้างมือ  ขนาด  240 ml จำนวน 20 ขวด ขวดละ 70 บาท=1400 บาท -น้ำยาฆ่าเชื้ออเนกประสงค์  ขนาด 1200 ml จำนวน 5 ขวด 560 บาท=2800บาท -ชุดตรวจ ATK รวมจำนวนนักเรียน คณะครู และบุคลากรโรงเรียน 93 คน  คนละ 2 ชุด จำนวน  186 ชุด ชุดละ 80 บาท=14880 บาท -ชุดกันฝน  จำนวน  20 ชุด  ชุดละ  20 บาท =400บาท -ถุงมือยางป้องกันเชื้อโรค จำนวน 2 กล่อง กล่องละ  200 บาท  400 บาท -เครื่องพ่นละอองฝอยฆ่าเชื้อโรค  จำนวน 1 เครื่อง  เครื่องละ  900 บาท  =900 บาท -หน้ากากอนามัยจำนวน  10 กล่อง กล่องละ  80 บาท  800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-นักเรียน ครู และบุคลากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้ามาในโรงเรียนได้รับการตรวจคัดกรอง  ร้อยละ 100
-นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน มีการสวมหน้ากากอนามัย  ร้อยละ 100
-นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีการสวอป ด้วยชุดตรวจ ATK เมื่อมีความเสี่ยง ร้อยละ 100

 

0 0

3. 3. กิจกรรมติดตามประเมินผล

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการรายงานผลผ่านกลุ่มไลน์ห้องเรียนโดยครูประจำชั้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การตรวจคัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงได้ตามเป้าหมายร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
93.00 0.00

 

2 เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความตระหนักในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ตัวชี้วัด : - นักเรียน ครู และบุคลากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้ามาในโรงเรียนได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 100 - นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีการสวมหน้ากากอนามัย ร้อยละ 100 - นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีการสวอป (Swab) ด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เมื่อมีความเสี่ยง ร้อยละ 100
93.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) (2) เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีความตระหนักในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)  2 วัน (2) กิจกรรมที่ 2  ปฏิบัติการเรื่องการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและ ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการตรวจหาเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Swab) ด้วย Antigen Test Kit (ATK) (3) 3. กิจกรรมติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการคัดกรองและค้นหาผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา(Covid-19) โรงเรียนบ้านคลองน้ำเค็ม จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5313-02-012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภิญโญ อ่อนคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด