กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวฝาย


“ โครงการพัฒนาการดำเนินงาน การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ ”

ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมฤทัย กวาวสิบสาม และคณะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการดำเนินงาน การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ 3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการดำเนินงาน การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวฝาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการดำเนินงาน การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาการดำเนินงาน การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ รหัสโครงการ 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวฝาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายระดับชาติมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักสามารถดูแลสุขภาพและจัดการกันเอง ในชุมชนได้อย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหา วิถีชีวิตและบริบทของชุมชน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดอัตราเพิ่มของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ใน 5 อันดับแรก คือ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็ง นำไปสู่การลดรายจ่ายด้านสุขภาพและมีสุขภาพดี ตามวิถีไทยอย่างยั่งยืน ในการดำเนินงานสร้างสุขภาพ เป็นงานที่ทำได้ยากเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย ดังนั้น ประชาชนส่วนใหญ่จึงให้ความสำคัญกับการทำงานเพื่อหารายได้มาตอบสนองต่อความต้องการ ขาดการใส่ใจในการดูแลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง การนำกลวิธีต่าง ๆ หลากหลายรูปแบบ เช่น งานสาธารณสุขมูลฐาน งานสุขภาพดีถ้วนหน้า การสร้างแกนนำครอบครัว ระบบสุขภาพภาคประชาชน เข้ามาดำเนินงานซึ่งล้วนแล้วแต่มีวัตถุประสงค์เดียวกัน คือมุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพ ซึ่งเป็นเรื่องของบุคคลที่ต้องใส่ใจ ตระหนักถึงการสร้างสุขภาพด้วยตนเอง การที่จะทำให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักและใส่ใจกับสุขภาพของตนเอง อย่างเป็นธรรมชาติ ควบคู่ไปกับการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยไม่รู้สึกเป็นภาระ จะต้องมีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบเพื่อให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ ทำซ้ำจนเคยชิน จนทำให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ทำให้คนในชุมชนมีการใส่ใจในการสร้างสุขภาพอย่างแท้จริง ร่วมกันคิดและร่วมกันสร้างกิจกรรมการดำเนินงานด้านสุขภาพ ด้วยการรวมกลุ่มจัดตั้งชมรมต่าง ๆ ขึ้นเพื่อดูแลซึ่งกันและกันทั้งด้านการจัดการด้านสุขภาพ การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพของตน มีการทำกิจกรรมร่วมกันของชุมชนและปฏิบัติต่อสภาวะแวดล้อมอย่างเหมาะสม ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าผึ้ง มีจำนวนผู้ที่ได้รับการคัดกรอง โรคไม่ติดต่อ จำนวน ๑,309 คน มีกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 191 คน และสงสัยป่วยจำนวน 53 คน มีกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 123 คน และสงสัยป่วย จำนวน 5 คน (ข้อมูลอ้างอิง ควร เป็น 3 ปี จะได้เห็น แนวโน้ม) ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน ปี 2561 – 2564 คัดกรองได้ร้อยละ 96.77 ,98.27,97.27 ,97.41 ,100,ตามลำดับ ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561 – 2564 คัดกรองได้ร้อยละ 96.28 ,95.91,96.76 ,97.41 ,97.89ตามลำดับ ปี2563, 2564 พบกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 5, 35 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.30 ,2.00กลุ่มเสี่ยง 123, 158 คน คิดเป็น ร้อยละ 7.26 ,9.04
ปี 2563 2564 พบกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 53 , 17คน คิดเป็น ร้อยละ 3.13,1.37 กลุ่มเสี่ยง 191 , 135 คน คิดเป็น ร้อยละ 14.85 ,10.42
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าผึ้ง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอยู่แล้วเพื่อให้ประชาชนและชุมชน มีบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ทำให้ลดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนตลอดจนลดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ เกิดการดูแลสุขภาพด้วยตนเองแบบยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมในกลุ่มประชาชนทั่วไป
  2. กิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง
  3. กิจกรรมในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน
  4. กิจกรรมในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 128
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน และ ความดันโลหิต ร้อยละ 90
  2. ร้อยละของผู้ป่วย DM HT ขาดนัดได้รับการติดตามกลับมารักษาต่อ ร้อยละ 90
  3. ร้อยละ ผู้ป่วยเบาหวาน ที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ ร้อยละ 40
  4. ผู้ป่วยโรคDM HT ที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแล ตา ร้อยละ 50ไต ร้อยละ 80เท้า ร้อยละ 50
  5. ร้อยละผู้ป่วย HT คุมได้ ร้อยละ 60
  6. ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมิน CVD Risk ร้อยละ 80
  7. การติดตามวัดความดันโลหิต ที่บ้าน ในกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนไม่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
0.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดัน
ตัวชี้วัด : ประชาชนไม่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 278
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 128
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมในกลุ่มประชาชนทั่วไป (2) กิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน (4) กิจกรรมในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาการดำเนินงาน การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ 3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสมฤทัย กวาวสิบสาม และคณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด