กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง


“ โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ ในปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางแม่นาง

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ ในปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี

รหัสโครงการ 65-L2457-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนนทบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ ในปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ ในปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี รหัสโครงการ 65-L2457-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับสามในหญิงไทย ซึ่งประเทศไทยมีโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับชาติโดยวิธี Pap smear ดำเนินการครอบคลุมทั่วประเทศในปี 2553 – 2557 ถึงแม้การตรวจโดยใช้วิธี Pap smear จะเป็นวิธีการตรวจที่มาตรฐาน แต่พบปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญคือ ประสิทธิภาพของวิธีการตรวจที่ยังมีจำกัดและการเก็บตัวอย่างเซลล์และการจัดเตรียมสไลด์เป็นงานที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญของเจ้าหน้าที่ หากในสถานพยาบาลที่มีการเข้าออกหรือเปลี่ยนตำแหน่งความรับผิดชอบจะทำให้มีปัญหาในการดำเนินงาน ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาการตรวจด้วยวิธี HPV DNA Test ซึ่งให้ผลความไวและความถูกต้องที่ดีกว่าการตรวจ Pap smearโดยในปัจจุบันมีวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีHPV DNA Test ซึ่งเป็นเทคนิคการตรวจด้านชีวโมเลกุล เพื่อตรวจหาเชื้อ HPV สายพันธ์ที่ก่อมะเร็งบริเวณปากมดลูกและผนังช่องคลอด โดยมีประสิทธิภาพในการตรวจคัดกรองที่ดีกว่า จึงเป็นการยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของหญิงไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยหญิงไทยช่วงอายุ 30 – 59 ปี และหญิงไทยช่วงอายุ 15 – 29 ปี กรณีที่มีความเสี่ยงสูง ควรรับบริการตรวจคัดกรอง 1 ครั้ง ทุก ๆ 5 ปี และในส่วนมะเร็งลำไส้ใหญ่จากข้อมูลสถิติสถานการณ์สุขภาพคนไทย 10 ปีย้อนหลังรายเขตสุขภาพ ระหว่างปี 2552 – 2561 พบข้อมูลที่น่าสนใจคือ คนไทยมีแนวโน้มเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่สูงขึ้น 2.4 เท่าทั้งเพศหญิงและชาย โดยในปี 2552 อัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ในเพศชาย อยู่ที่ 3.6 คนต่อแสนประชากร เพิ่มขึ้นเป็น 8.9 คนต่อแสนประชากรในปี 2561 เช่นเดียวกับเพศหญิง ในปี 2552 อยู่ที่ 2.8 คนต่อแสนประชากร เพิ่มขึ้นเป็น 6.7 คนต่อแสนประชากรในปี 2561 ที่น่าสนใจคือคนในเขตเมืองมีแนวโน้มเสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้สูงขึ้น โดยเฉพาะในเขตกทม.ที่มีจำนวนมากที่สุด 15.1 คนต่อแสนประชากร ซึ่งมีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น 1.9 เท่าในรอบ 10 ปี ตามด้วยภาคกลาง 10.2 คนต่อแสนประชากร ซึ่งมีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น 2.4 เท่า โดยจากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า คนไทยมีแนวโน้มการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เพิ่มขึ้น ดังนั้น เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ใหญ่ ให้มีประสิทธิภาพและทั่วถึง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่างแม่นาง จึงจัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนท้องถิ่นเทศบาลเมืองบางแม่นาง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นเตรียมการ
  2. ขั้นดำเนินงาน
  3. ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,800
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม./แกนนำ มีความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตน ร้อยละ 100
    1. ร้อยละ 50 ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านม
    2. ร้อยละ ๑๐ ของสตรีที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งคัดกรองปากมดลูก
    3. ร้อยละ ๑๐ ประชาชนกลุ่มอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่
    4. ร้อยละ ๑๐๐ ของประชาชน ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการรักษาส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1800
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,800
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินงาน (3) ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นนทบุรี

รหัสโครงการ 65-L2457-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางแม่นาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด