กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง


“ โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ(ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย) ”

ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสายจิตร อินทมา

ชื่อโครงการ โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ(ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย)

ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3328-2-07 เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ(ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ(ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ(ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3328-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน การเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นในหลายๆครั้งที่มีความรุนแรงกับผู้ป่วยนั้น มีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการที่ผู้เจ็บป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บไม่สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาล โดยแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ทันที ทำให้บางครั้งผลของการตรวจรักษาผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือได้ทันเวลาทำให้เกิดการสูญเสียแก่ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตหรือทุพลภาพ หรือการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่ความรู้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักในการเพิ่มความรุนแรงของโรคโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุต่างๆ ซึ่งบางครั้งการกระทำเหล่านี้ส่งผลในด้านลบแก่ผู้ป่วยมากกว่า อาจถึงขั้นสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ เช่น การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บบริเวณคอ หากมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่การเข้าเฝือกด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งอาจจะทำให้หมอนรองกระดูกเกิดความเสียหาย ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ การไม่มีสัญญาณชีพ (การหยุดหายใจ การหยุดเต้นของชีพจร ม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสง) หมายถึง การเสียชีวิตของบุคคลนั้น ในด้านการแพทย์หากยังไม่เกิน ๒0 นาที ถือว่าสมองยังไม่ถูกทำลาย หากสามารถทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้ โดยการกระตุ้นให้หัวในทำงาน การผายปอด ซึ่งหากผู้ให้การช่วยเหลือมีความรู้ ก็จะถือว่ายังพอมีโอกาสในการช่วยเหลือ โดยวิธีการดังกล่าวนั้นเรียกรวมกันว่า การช่วยฟื้นคืนชีพ จากเหตุผลขั้นต้นนั้น แสดงให้เห็นว่าการปฐมพยาบาลผู้ป่วยก่อนพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขนั้นสามารถลด ความเจ็บปวด ความรุนแรงที่จะเกิดกับผู้ป่วยได้ กลับกันหากผู้ให้การปฐมพยาบาลไม่มีความรู้ การให้การปฐมพยาบาลอาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงกับผู้ป่วยได้ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านฯ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องเพื่อลดความเจ็บปวดและความรุนแรงของโรคแหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบัน การเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นในหลายๆครั้งที่มีความรุนแรงกับผู้ป่วยนั้น มีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการที่ผู้เจ็บป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บไม่สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาล โดยแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ทันที ทำให้บางครั้งผลของการตรวจรักษาผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือได้ทันเวลาทำให้เกิดการสูญเสียแก่ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตหรือทุพลภาพ หรือการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่ความรู้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักในการเพิ่มความรุนแรงของโรคโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุต่างๆ ซึ่งบางครั้งการกระทำเหล่านี้ส่งผลในด้านลบแก่ผู้ป่วยมากกว่า อาจถึงขั้นสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ เช่น การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บบริเวณคอ หากมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่การเข้าเฝือกด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งอาจจะทำให้หมอนรองกระดูกเกิดความเสียหาย ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ การไม่มีสัญญาณชีพ (การหยุดหายใจ การหยุดเต้นของชีพจร ม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสง) หมายถึง การเสียชีวิตของบุคคลนั้น ในด้านการแพทย์หากยังไม่เกิน ๒0 นาที ถือว่าสมองยังไม่ถูกทำลาย หากสามารถทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้ โดยการกระตุ้นให้หัวในทำงาน การผายปอด ซึ่งหากผู้ให้การช่วยเหลือมีความรู้ ก็จะถือว่ายังพอมีโอกาสในการช่วยเหลือ โดยวิธีการดังกล่าวนั้นเรียกรวมกันว่า การช่วยฟื้นคืนชีพ จากเหตุผลขั้นต้นนั้น แสดงให้เห็นว่าการปฐมพยาบาลผู้ป่วยก่อนพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขนั้นสามารถลด ความเจ็บปวด ความรุนแรงที่จะเกิดกับผู้ป่วยได้ กลับกันหากผู้ให้การปฐมพยาบาลไม่มีความรู้ การให้การปฐมพยาบาลอาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงกับผู้ป่วยได้ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านฯ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาล เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องเพื่อลดความเจ็บปวดและความรุนแรงของโรคแก่ผู้ป่วย และลดการเจ็บป่วยรุนแรงที่เกิดจากการปฐมพยาบาลและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย รวมถึงสามารถช่วยเหลือผู้ไร้สัญญาณชีพด้วยการช่วยฟื้นคืนชีพด้วยวิธีต่างๆได้ ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านฯ จึงได้จัดโครงการการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ ขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้ในการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพ แก่แกนนำครอบครัว เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้เมื่อประสพกับเหตุการณ์จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ร้อยละ 100 แก่แกนนำครอบครัว บ้านหัวช้าง มีประสบการณ์การเรียนรู้เรื่องการปฐมพยาบาลและช่วยฟื้นคืนชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น แก่ อสม./แกนนำครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และมีทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องตัน เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล 2.สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลในกรณีฉุกเฉิน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ร้อยละ 100 แก่แกนนำครอบครัว บ้านหัวช้าง มีประสบการณ์การเรียนรู้เรื่องการปฐมพยาบาลและช่วยฟื้นคืนชีพ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น 2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปฏิบัติทักษะการช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ถูกได้ถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ร้อยละ 100 แก่แกนนำครอบครัว บ้านหัวช้าง  มีประสบการณ์การเรียนรู้เรื่องการปฐมพยาบาลและช่วยฟื้นคืนชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น แก่ อสม./แกนนำครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพ(ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านคลองนุ้ย) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3328-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสายจิตร อินทมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด