โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน อาแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2479-1-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2479-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่ออุบัติใหม่เป็นโรคระบาดที่ติดต่อจากสัตว์สู่คน และจากคนสู่คนมีทั้งโรคชนิดใหม่ที่เพิ่งระบาดโรคที่เคยระบาดในอดีตแล้วกลับมาระบาดซ้ำโรคที่พบในพื้นที่ใหม่ โรคที่เกิดจากเชื้อกลายพันธุ์ซึ่งโรคอุบัติใหม่เหล่านี้ถือเป็นวิกฤติการณ์ทางสาธารณสุขของโลกและมีแนวโน้มที่เพิ่มจำนวนสูงขึ้นและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น สำหรับวิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นนี้จะอยู่กับโลกไปอีกไม่นาน เพราะในที่สุดมนุษย์ก็ต้องหาหนทางแก้ไขปัญหาได้ แต่สิ่งที่กำลังจะเปลี่ยนไปคือ รูปแบบพฤติกรรมที่จะเป็น “New Normal หรือความปกติใหม่” ที่มนุษย์จะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตโดยพึ่งพาเทคโนโลยีออนไลน์มากยิ่งขึ้น
ดังนั้นบทบาทการดำเนินงานในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำจึงเป็นหน้าที่ของทุกภาคส่วนในการที่จะเข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน ส่งเสริม ให้คำแนะนำ และประสานงานเพื่อหยุดการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ และช่วยลดความสูญเสียด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียตระหนักและเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมและพร้อมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานทบทวนแผนปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพแกนนำให้บรรลุวัตถุประสงค์มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความเข้าใจการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ
- 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบแกนนำให้มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
- 3.เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
- 4. เพื่อ ติดตาม และขับเคลื่อนการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง
- 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สามารถแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชนในกรณีโรคระบาดหรือภับพิบัติในพื้นที่ ๒. สามารถป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นให้ได้มาตรฐาน ๓. ชุมชนเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการป้องกันในการควบคุมโรคโดยชุมชน ๔. มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่น โรคโควิด 19 โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดนก โรคอีโบล่า โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 2500 บาท
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท
ค่าวิทยากร 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3600 บาท
ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ผืน ขนาด 1 x 2 เมตร เป็นเงิน 500 บาท รวม 9600 บาท
วัสดุสำนักงาน (ปากกาจำนวน 50 ด้าม x 5 บาท เป็นเงิน 250 บาท , สมุด จำนวน 50 เล่ม x 20 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
กระเป๋าเอกสาร 50 ใบ x 80 บาท เป็นเงิน 4000 บาท ) เป็นเงินทั้งหมด 5250 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำชุมชนมีการดำเนินงานและขับเคลื่อนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อย่างต่อเนื่อง
0
0
2. 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท เป็นเงิน 2500 บาท
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 3000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีความรู้เข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่น โควิด-๑๙ โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดนก โรคอิโบล่า โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อสร้างความเข้าใจการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ในการการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ
0.00
2
2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบแกนนำให้มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชน มีการดำเนินงานและขับเคลื่อนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อย่างต่อเนื่อง
0.00
3
3.เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
ตัวชี้วัด : มีการทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ3 ครั้ง ต่อปี
0.00
4
4. เพื่อ ติดตาม และขับเคลื่อนการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชน มีการดำเนินงานและขับเคลื่อนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อย่างต่อเนื่อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
10
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความเข้าใจการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ (2) 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบแกนนำให้มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ (3) 3.เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ (4) 4. เพื่อ ติดตาม และขับเคลื่อนการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง (2) 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2479-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอุสมาน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน อาแว
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2479-1-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2479-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่ออุบัติใหม่เป็นโรคระบาดที่ติดต่อจากสัตว์สู่คน และจากคนสู่คนมีทั้งโรคชนิดใหม่ที่เพิ่งระบาดโรคที่เคยระบาดในอดีตแล้วกลับมาระบาดซ้ำโรคที่พบในพื้นที่ใหม่ โรคที่เกิดจากเชื้อกลายพันธุ์ซึ่งโรคอุบัติใหม่เหล่านี้ถือเป็นวิกฤติการณ์ทางสาธารณสุขของโลกและมีแนวโน้มที่เพิ่มจำนวนสูงขึ้นและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น สำหรับวิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นนี้จะอยู่กับโลกไปอีกไม่นาน เพราะในที่สุดมนุษย์ก็ต้องหาหนทางแก้ไขปัญหาได้ แต่สิ่งที่กำลังจะเปลี่ยนไปคือ รูปแบบพฤติกรรมที่จะเป็น “New Normal หรือความปกติใหม่” ที่มนุษย์จะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตโดยพึ่งพาเทคโนโลยีออนไลน์มากยิ่งขึ้น ดังนั้นบทบาทการดำเนินงานในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำจึงเป็นหน้าที่ของทุกภาคส่วนในการที่จะเข้าไปช่วยเหลือสนับสนุน ส่งเสริม ให้คำแนะนำ และประสานงานเพื่อหยุดการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ และช่วยลดความสูญเสียด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียตระหนักและเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมและพร้อมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานทบทวนแผนปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพแกนนำให้บรรลุวัตถุประสงค์มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความเข้าใจการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ
- 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบแกนนำให้มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
- 3.เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
- 4. เพื่อ ติดตาม และขับเคลื่อนการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง
- 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สามารถแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชนในกรณีโรคระบาดหรือภับพิบัติในพื้นที่ ๒. สามารถป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่นให้ได้มาตรฐาน ๓. ชุมชนเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการป้องกันในการควบคุมโรคโดยชุมชน ๔. มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่น โรคโควิด 19 โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดนก โรคอีโบล่า โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง |
||
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 2500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแกนนำชุมชนมีการดำเนินงานและขับเคลื่อนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อย่างต่อเนื่อง
|
0 | 0 |
2. 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำชุมชน จำนวน 1 ครั้ง |
||
วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท เป็นเงิน 2500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีความรู้เข้าใจ เกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน เช่น โควิด-๑๙ โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดนก โรคอิโบล่า โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างความเข้าใจการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ในการการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบแกนนำให้มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชน มีการดำเนินงานและขับเคลื่อนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อย่างต่อเนื่อง |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ตัวชี้วัด : มีการทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ3 ครั้ง ต่อปี |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อ ติดตาม และขับเคลื่อนการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชน มีการดำเนินงานและขับเคลื่อนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ อย่างต่อเนื่อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความเข้าใจการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำสู่การปฏิบัติ (2) 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบแกนนำให้มีความรอบรู้ทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ (3) 3.เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ (4) 4. เพื่อ ติดตาม และขับเคลื่อนการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการแกนนำชุมชนจำนวน 1 ครั้ง (2) 2.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำชุมชน จำนวน 1 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L2479-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอุสมาน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......