กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหญิงไทยรู้ทันมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 ”
ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม




ชื่อโครงการ โครงการหญิงไทยรู้ทันมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3330-1-06 เลขที่ข้อตกลง 6/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 20 กรกฎาคม 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหญิงไทยรู้ทันมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหญิงไทยรู้ทันมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหญิงไทยรู้ทันมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3330-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 20 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,640.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยและมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมตามลำดับ ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดอายุระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช่จ่ายในการรักษาสูง การป้องกัน และควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากโรคมะเร็งเป็นโรคที่เป็นแล้วจะทำให้เกิดอาการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ซึ่งผู้ป่วยที่ไปรับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มักจะไปรับการรักษาเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้ผลการรักษาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรแต่ในขณะเดียวกันโรคมะเร็งเป็นโรคหนึ่งที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ถ้าหากว่าได้รับการตรวจวินิจฉัยและมาพบแพทย์ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก ปัจจุบันสตรีจำนวนไม่น้อยที่ยังขาดความรู้ในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม การดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ในปี พ.ศ.2562-2564 กลุ่มเป้าหมายหญิงอายุ 30-60 ปี ทั้งหมดจำนวน 356 คน ได้รับการตรวจคัดกรองจำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 41.57พบความผิดปกติ (อักเสบ)3รายรับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะทั้ง3ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน เห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรค โดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถค้นหามะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน จึงได้จัดทำโครงการหญิงไทยรู้ทันมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงปี 2565 ขึ้น โดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการตรวจคัดกรองหา cell มะเร็งปากมดลูก และส่งต่อเข้าระบบการรักษาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
  3. กลุ่มเป้าหมายที่ผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและการรักษาทุกราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ
  2. ประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่สตรี อายุ 30 - 60 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 84
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
สตรีอายุ 30-60 ปีที่ยังไม่รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง 84

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจโรคมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงอันตรายของโรคมะเร็งปากมดลูก
2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20
3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 3๐-60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิด ได้รับการรักษาโดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมชี้แจงโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต  มีการจัดประชุมชี้แจงโครงการ แก่ผู้นำชุมชน และ อสม  จำนวน 45 คน
ผลลัพท์  1. ผู้นำชุมชน และ อสม มีความรุ้เกี่ยวกับโรคโรคมะเร็งปากมดลูก             2. ผู้นำชุมชน และ อสม  สามารถติดตามกลุ่มเป้าหมายมาตรวจคัดกรองได้อย่างครอบคลุม

 

45 0

2. ประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่สตรี อายุ 30 - 60 ปี

วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่สตรี อายุ 30 - 60 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต  มีการประชุมให้ความรุ้เชิงปฏิบัติการแก่สตรี อายุ 30 - 60 ปี จำนวน 2 รุ่น ๆละ 42 คน
ผลลัพท์  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรุ้ ความเข้าใจ โรคมะเร็งปากมดลูก และตระหนักถึงอันตรายของโรคมะเร็งปากมดลูก             2. ประชาชรกลุ่มเป้ามาย ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
            3. กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย

 

84 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 2.สตรีอายุ30-60ปี มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ90
0.00

 

2 สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
0.00

 

3 กลุ่มเป้าหมายที่ผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและการรักษาทุกราย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 168
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 84
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
สตรีอายุ 30-60 ปีที่ยังไม่รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง 84

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2) สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (3) กลุ่มเป้าหมายที่ผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและการรักษาทุกราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงโครงการ (2) ประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่สตรี อายุ 30 - 60 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหญิงไทยรู้ทันมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3330-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินดาพัฒน์ แม่ลิ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด