กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง


“ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ แก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ปี2565 ”

ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอูแมกลือซง อาแด

ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ แก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ปี2565

ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-l4145-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์คุณภาพ แก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ปี2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์คุณภาพ แก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ปี2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์คุณภาพ แก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ปี2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-l4145-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การพัฒนางานสุขภาพในปัจจุบันและอนาคต เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อการ มีคุณภาพชีวิตที่ดี การมีความสุขประชาชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ รัฐเป็นผู้สนับสนุนและระบบบริการสุขภาพ ก็ต้องมีการพัฒนาให้มีคุณภาพ ประชาชนเข้าถึงได้สะดวก มีประสิทธิภาพโดยการร่วมกับองค์กรภาคประชาชน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน งานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของบริการสาธารณสุขที่ให้บริการกับประชาชนทั่วไป และกลุ่มประชาชนกลุ่มหนึ่งที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับกลุ่มอื่น ๆนั้นคือ หญิงตั้งครรภ์ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ทุกคนจะต้องได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด คือก่อนคลอด 5 ครั้ง และรับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยงของตนเอง วิธีการปฏิบัติตน ที่ถูกต้องที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือการคลอดในสถานบริการสาธารณสุข และการดูแลหลังคลอดให้ครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์เช่นเดียวกัน สุขภาพอนามัยแม่ทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ตลอดมาจนถึงระยะภายหลังคลอดหรือโรคหลายอย่างที่เกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดจะมีผลกระทบที่อาจเป็นอันตรายต่อเด็กในครรภ์ด้วย เช่น โรคเอดส์ โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ ภาวะเสี่ยงและอาการแทรกซ้อนที่เกิดจากการตั้งครรภ์ ดังนั้น การดูแลสุขภาพของคนเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา การฝากครรภ์ การคลอดที่ถูกวิธีจะทำให้แม่และลูกมีสุขภาพดีสมบูรณ์ แข็งแรง สมองแจ่มใส สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยปกติในสังคมเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ต้องเริ่มตั้งแต่ครอบครัวเพราะครอบครัวมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดและการส่งเสริมให้ครอบครัวมีความรู้ในเรื่องแม่และเด็กก็มีความจำเป็นอย่างมาก จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรูตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2564 พบว่า อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 7.41 ตามตัวชี้วัดไม่เกินร้อยละ7 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ 92.31 ตามตัวชี้วัด >60% การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 86.54 ตามตัวชี้วัด >65%หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 82.61 ตามตัวชี้วัด>65% อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางใกล้คลอดร้อยละ18.67 ตามตัวชี้วัดไม่เกินร้อยละ 10
หากไม่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวอาจส่งผลกระทบในอนาคตได้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรูตำบลกาตองอำเภอยะหาจังหวัดยะลา ร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฝากครรภ์คุณภาพ แก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กเพื่อป้องกันและส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 65
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65
  3. มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
  4. อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง (Hct < 33% ) ไม่เกินร้อยละ 10
  5. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 45
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการประเมินภาวะเสี่ยงที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด
  3. หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
  4. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
  5. หญิงตั้งครรภ์ไปคลอดที่โรงพยาบาล
  6. ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตามเกณฑ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 65
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 65
65.00 65.00

 

2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 65
65.00 65.00

 

3 มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90
90.00 90.00

 

4 อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง (Hct < 33% ) ไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัด : อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง (Hct
10.00 10.00

 

5 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
ตัวชี้วัด : ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500กรัม ผ่านเกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 7
7.00 7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 45
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 65 (2) หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 (3) มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 (4) อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง (Hct  <  33% ) ไม่เกินร้อยละ  10 (5) ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม            ไม่เกินร้อยละ 7

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมสุขภาพอนามัยมารดาลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากครรภ์คุณภาพ แก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ปี2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-l4145-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอูแมกลือซง อาแด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด