กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านอุเผะ ปี 2565 ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางอาลาวียะห์ กาเจ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านอุเผะ ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 06/2565 เลขที่ข้อตกลง 06/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านอุเผะ ปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านอุเผะ ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านอุเผะ ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 06/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,590.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยฯ ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 พบว่า สัดส่วนของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 31.2 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 43.1 ในปี 2557 และผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูง ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคความดันโลหิตสูง จากร้อยละ 50.3 ในปี 2552  เป็นร้อยละ 44.7 ในปี 2557 แสดงให้เห็นว่า ประชากรคนไทยที่เป็นโรคเบาหวานและ/หรือโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ 40 ไม่ได้รับการวินิจฉัยจากวิธีการคัดกรองที่ผ่านมา ดังนั้น แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.2560 และแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 จึงได้กำหนดวิธีการคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียนและการรักษาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งการคัดกรอง-วินิจฉัยและประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ทำให้สามารถพบกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มสงสัยป่วยหรือกลุ่มป่วยแล้วแต่ยังไม่ได้รับ  การตรวจคัดกรองวินิจฉัยแต่แรก การดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยดังกล่าว ทั้งที่มีและไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ วิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสมอย่างเข้มข้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถป้องกัน และยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้ถึงร้อยละ 50 จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน      และโรคความดันโลหิตสูงที่ดีที่สุด จากผลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ตำบลกรงปินัง จังหวัดยะลา    ตามนโยบายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕65 พบว่า เป้าหมายประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ต้องได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานมีจำนวน 2,030 คน ได้รับคัดกรอง 2,015 คน คิดเป็นร้อยละ 99.26 มีผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.69 และมีผู้ที่เสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.65 และเป้าหมายประชาชนอายุ  35 ปีขึ้นไป ที่ต้องได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง มีจำนวน 1,739 คน ได้รับคัดกรองจำนวน 1,715 คน คิดเป็นร้อยละ 98.62 มีผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 218 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.71 และมีผู้ที่เสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 42 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.45

จากสภาพปัญหาดังกล่าว จะเห็นได้ว่ากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงดังกล่าว ยังมีแนวโน้มของกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งจากการคัดกรองความดันโลหิต ปี 2565 พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเป็นจำนวนเพิ่มสูงขึ้น จากการคัดกรองปี 2564 ที่พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 136 คน คิดเป็นร้อยละ 8.31 แต่พบกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงในปี 2565 ลดลงจากปี 2564 ทีมีจำนวน 129 คิดเป็นร้อยละ 7.89 นอกจากนี้ จากการคัดกรองโรคเบาหวาน ปี 2565 พบว่ากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลงจากปี 2564 ที่มีเป็นจำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 3.69 แต่พบกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากปี 2564 ที่มีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.16 นอกจากนี้ พบว่าข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนของสถานบริการ ในปี 2562 2563 2564 มีจำนวน 426, 459, 484 คน ตามลำดับ มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมโรคได้ดี เป็นจำนวน 218, 254, 325 คน ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 51.17, 55.34, 67.15 ตามลำดับ ซึ่งผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ 50 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมโรคได้ แต่ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนของสถานบริการ ในปี 2562 2563 2564 มีจำนวน 118, 147, 166 คน ตามลำดับ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมโรคได้ดี เป็นจำนวน 31, 50, 52 คน ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 26.27, 34.01, 31.33 ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ 40 ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมโรคได้ ซึ่งกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงข้างต้น หากไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง จะกลายเป็นกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ในอนาคตได้ และหากไม่ได้รับการติดตาม การวินิจฉัย ขึ้นทะเบียนและรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง จะกลายเป็นกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนอันตราย ไม่ว่าจะเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบ แตก ตัน โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจ โรคไต  ในอนาคตได้ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ป่วย และสิ้นเปลืองงบประมาณค่าใช้จ่ายของประเทศในการรักษาพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ ตำบลกรงปินัง จังหวัดยะลา  ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง  เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านอุเผะ ปี ๒๕๖5 ตลอดจนให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในครั้งนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรอง ติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (DPAC)  ตามเกณฑ์มาตรฐาน การวินิจฉัย ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และลดการเกิดโรคเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ และเพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยโรคเบาหวาน    โรคความดันโลหิตสูงที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่สำเร็จ ได้เข้าสู่ระบบการวินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่องต่อไป ทั้งนี้เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เข้าถึงบริการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และรับการประเมินติดตามผลการปรับเปลี่ยนหลังจากอบรม 1 3 6 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่สำเร็จได้รับการส่งต่อรับการวินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่องต่อไป
  4. เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับความรู้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ทำให้สามารถควบคุมโรคได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับกิจกรรมในโครงการฯ แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในพื้นที่
  2. จัดทำแบบฟอร์มคัดกรองตามบัญชีรายชื่อและที่อยู่ ของประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  3. อาสาสมัครสาธารสุขประจะหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ ให้บริการตรวจคัดกรอง โดยการวัดความดันโลหิต เจาะระดับน้ำตาลปลายนิ้ว
  4. เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ คืนข้อมูลให้แก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  5. อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  6. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ
  7. รณรงค์คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
  8. อบรมแกนนำด้านการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  9. อบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  10. กิจกรรมประชุมติดตาม ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 ครั้ง หลังอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เข้าถึงบริการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และรับการประเมินติดตามผลการปรับเปลี่ยนหลังจากอบรม 1 3 6 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่สำเร็จได้รับการส่งต่อรับการวินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่องต่อไป
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับความรู้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ทำให้สามารถควบคุมโรคได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เข้าถึงบริการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง และรับการประเมินติดตามผลการปรับเปลี่ยนหลังจากอบรม 1 3 6 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่สำเร็จได้รับการส่งต่อรับการวินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่องต่อไป (4) เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในโครงการฯ ได้รับความรู้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ทำให้สามารถควบคุมโรคได้ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับกิจกรรมในโครงการฯ  แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในพื้นที่ (2) จัดทำแบบฟอร์มคัดกรองตามบัญชีรายชื่อและที่อยู่ ของประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (3) อาสาสมัครสาธารสุขประจะหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ ให้บริการตรวจคัดกรอง โดยการวัดความดันโลหิต เจาะระดับน้ำตาลปลายนิ้ว (4) เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ คืนข้อมูลให้แก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (5) อบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (6) สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ (7) รณรงค์คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป (8) อบรมแกนนำด้านการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (9) อบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (10) กิจกรรมประชุมติดตาม ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 ครั้ง หลังอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านอุเผะ ปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 06/2565

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาลาวียะห์ กาเจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด