กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตวัยใสตำบลเกะรอ ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภิญญา มะหลี

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตวัยใสตำบลเกะรอ

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4156-2-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตวัยใสตำบลเกะรอ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตวัยใสตำบลเกะรอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตวัยใสตำบลเกะรอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4156-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,720.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินชีวิตของคนในสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งการดำเนินชีวิตประจำวัน สภาพการแข่งขันและสภาวะบีบคั้นทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม จารีตและประเพณีที่ปรับเปลี่ยนไป สภาวะความทันสมัย ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่เน้นวัตถุนิยม พ่อแม่หลายคนต้องไปประกอบอาชีพตั้งแต่เช้าและกลับมามืดค่ำ จึงไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน บางรายละทิ้งบุตรหลานไว้กับคนแก่เพื่อไปทำงานหารายได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญต่อวิถีชีวิตของคนในสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงไป การเรียนรู้ของวัยรุ่นในยุคปัจจุบันจึงเป็นเพียงการลอกเลียนแบบพฤติกรรมผ่านเทคโนโลยีสื่อสารรูปแบบต่างๆ เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค อินสตาแกรม ฯลฯ โดยขาดการวิเคราะห์ พิจารณา ที่เท่าทันและเหมาะสม ซึ่งส่วนหนึ่งผู้ดูแลที่เป็นคนเฒ่าคนแก่ก็ไม่เท่าทันต่อความสมัยใหม่ เพราะเติบโตในวัฒนธรรมการสอนที่แตกต่างกัน ส่งผลให้พฤติกรรมทางเพศในกลุ่มวัยเรียนจำนวนมากยังไม่มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเพศที่เหมาะสมและขาดทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง โดยวัยรุ่นไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง การขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิดที่ถูกวิธีและปลอดภัย ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนเองเมื่อต้องอยู่กับเพศตรงข้ามตามลำพัง ส่งผลให้มีเพศสัมพันธ์ไม่พร้อมและขาดการป้องกัน เด็กผู้หญิงหลายคนถูกล่อลวงไปข่มขืนและอนาจารทางเพศ เงื่อนไขดังกล่าวนำไปสู่การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่นวัยเรียนนับเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงและส่งผลต่อสังคมไทยมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ควรแก้ไขปรับเปลี่ยนความคิดและสร้างความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาและการดูแลตนเองให้กับเยาวชน เพื่อให้เยาวชนรู้จักการป้องกันตนเองจากความเสี่ยงต่อการล่อลวงและเกิดอันตรายทางเพศ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด และห่างไกลจากยาเสพติด
  2. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา และพ่อแม่วัยใส
  3. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  4. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ และการหารายได้เสริมระหว่างเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต
  2. อบรมให้ความรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 176
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องยาเสพติด เพิ่มขึ้น
  2. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงการเรียนรู้การมีคุณค่าของตนเอง
  3. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเรื่องเพศศึกษา (อนามัยเจริญพันธุ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการถูกล่อลวงและการล่วงละเมิดทางเพศเพิ่มขึ้นหลังเข้ารับการอบรม) เพิ่มขึ้น
  4. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะชีวิต เข้าถึงเครื่องมือในการป้องกันการตั้งครรภ์ ป้องกันตนเองให้ปลอดภัยในเรื่องเพศ เพิ่มขึ้น
  5. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถป้องกันตนเองจากการถูกล่อลวงและการละเมิดทางเพศทำให้ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมลดลงได้
  6. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น
  7. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการสร้างรายได้เสริมระหว่างเรียนเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต

วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการ 2.จัดโครงการอบรมให้ความรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต 3.ติดตามและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องยาเสพติด เพิ่มขึ้น
  2. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงการเรียนรู้การมีคุณค่าของตนเอง
  3. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเรื่องเพศศึกษา (อนามัยเจริญพันธุ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการถูกล่อลวงและการล่วงละเมิดทางเพศเพิ่มขึ้นหลังเข้ารับการอบรม) เพิ่มขึ้น
  4. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะชีวิต เข้าถึงเครื่องมือในการป้องกันการตั้งครรภ์ ป้องกันตนเองให้ปลอดภัยในเรื่องเพศ เพิ่มขึ้น
  5. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถป้องกันตนเองจากการถูกล่อลวงและการละเมิดทางเพศทำให้ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมลดลงได้
  6. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น
  7. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการสร้างรายได้เสริมระหว่างเรียนเพิ่มขึ้น

 

176 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด และห่างไกลจากยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด และห่างไกลจากยาเสพติด
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา และพ่อแม่วัยใส
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา และพ่อแม่วัยใส
100.00 100.00

 

3 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
100.00 100.00

 

4 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ และการหารายได้เสริมระหว่างเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ และการหารายได้เสริมระหว่างเรียน
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 176 176
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 176
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด และห่างไกลจากยาเสพติด (2) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศศึกษา และพ่อแม่วัยใส (3) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (4) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ และการหารายได้เสริมระหว่างเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต (2) อบรมให้ความรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมทักษะชีวิตวัยใสตำบลเกะรอ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4156-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุภิญญา มะหลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด