กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสัน มณีหยัน

ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5284-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5284-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งด้านความเจริญทางเทคโนโลยี วัตถุ สังคม การเมืองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงลักษณะของประชากรและภาวะสุขภาพ วิทยาการทางการแพทย์เจริญขึ้นสามารถให้การรักษาโรคได้มากขึ้น ทำให้ปัจจุบันประเทศไทยเปลี่ยนเป็นสังคมของผู้สูงอายุและเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น(จากข้อมูลสถิติรายงานการป่วยของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์พบว่า ในปี ๒๕๕๓ มีผู้ป่วยโรคระบบไหลเวียนเลือดเพิ่มขึ้น ๑.๗๑ เท่า และโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น ๑.๔๕ เท่าของปี ๒๕๕๑) และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมยังส่งผลกระทบต่อปัญหาการดำเนินชีวิตและภาวะสุขภาพในระยะยาว
การคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชน เป็นการค้นหา เฝ้าระวังป้องกันโรค ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไขมันในเลือด เป็นต้น รวมทั้งเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังเบื้องต้น จากข้อมูลผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังในเขตตำบลควนสตอ ปี 2564 พบว่ามีผู้ป่วยป่วยด้ายโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 964 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 317 ราย แนวโน้มว่าจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ถ้าไม่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพและได้รับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ชมรมรักษ์สุขภาพ ตำบลควนสตอ มีสมาชิกทั้งหมด 300 กว่าคน มีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชุมชนที่หลากหลายและต่อเนื่อง รวมถึงกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพเช่น คัดกรองสุขภาพประชาชนที่เป็นสมาชิกชมรม เพื่อเฝ้าระวัง/ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และกระตุ้นให้สมาชิกดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างถูกต้องต่อไป สุขภาพเป็นองค์ประกอบสำคัญของบุคคล ครอบครัว และชุมชน หากบุคคลมีสุขภาพที่ดีแล้ว ย่อมส่งผลให้สามารถกระทำกิจกรรมใดๆได้อย่างเต็มที่ ฉะนั้นจึงต้องสร้างกลยุทธ์การดำเนินการและกิจกรรมในพื้นที่เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มประชาชนที่มีความแตกต่างกันในทุกกลุ่มอายุ ทุกสาขาอาชีพ และทุกสภาวะสุขภาพให้มีสุขภาพดี สามารถดำรงชีวิตและประกอบสัมมาอาชีพได้อย่างปกติสุข สนับสนุนให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้ในการป้องกันโรคให้อยู่ในภาวะสุขภาพที่ดี สามารถดูแลสุขภาพตนเอง สามารถจัดการกับภาวะเสี่ยงต่างๆ และดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ ชมรมรักษ์สุขภาพตำบลควนสตอ ซึ่งเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในพื้นที่จึงได้จัดทำโครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชนตำบลควนสตอ อำเภอควนโดนจังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น โดยเน้นให้ประชาชนปรับพฤติกรรมเพื่อเปลี่ยนสุขภาพโดยการปฏิบัติตัวตามหลัก ๓อ.๒ส. ที่ต่อเนื่องและยั่งยืน คือออกกำลังกายและรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมโดยเฉพาะเพิ่มผักและผลไม้ที่ผลิตขึ้นเองในชุมชนและปลอดสารพิษ เป็นการเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง สนับสนุนให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ เสริมทักษะชีวิตในการจัดการที่ดี เพื่อป้องกันและควบคุมสุขภาพของตน โดยสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านกลไกของกระบวนการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคควมดันโลหิตสูง 2.เพื่อจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชมรมรักษ์สุขภาพตำบลควนสตอ 3.เพื่อให้แกนนำ/เครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดระบบข้อมูลด้านสุขภาพเพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์และการจัดสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2565

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น 2. เกิดความร่วมมือของภาคีเครือข่ายที่หลากหลายในการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างยั่งยืน 3. เกิด ชุมชน/หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคควมดันโลหิตสูง 2.เพื่อจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชมรมรักษ์สุขภาพตำบลควนสตอ 3.เพื่อให้แกนนำ/เครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดระบบข้อมูลด้านสุขภาพเพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์และการจัดสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงทุกคนได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามหลักการ 3อ2ส ได้ดีขึ้น ร้อยละ 80 ของแกนนำ/เครือข่าย มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลด้านการดูแลสุขภาพและสามารถสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคควมดันโลหิตสูง  2.เพื่อจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชมรมรักษ์สุขภาพตำบลควนสตอ  3.เพื่อให้แกนนำ/เครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดระบบข้อมูลด้านสุขภาพเพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์และการจัดสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน  ตำบลควนสตอ  อำเภอควนโดน  จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2565

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรักษ์สุขภาพสอดคล้องวิถีชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5284-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสัน มณีหยัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด