กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ


“ ท่ามิหรำรวมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ”

ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางกรุณา วิสโยภาส

ชื่อโครงการ ท่ามิหรำรวมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3355-2-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2565 ถึง 15 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ท่ามิหรำรวมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ท่ามิหรำรวมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " ท่ามิหรำรวมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3355-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2565 - 15 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 119,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมุลทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังของสถานีอนามัยบ้านน้ำเลือดในปี 2553-2564 พบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นตลอด ทั้งนี้อาจจะเป็นผลจากการคัดกรองได้ครอบคลุมมากขึ้น ข้อมูลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของตำบลท่ามิหรำ ณ ปัจจุบัน มีจำนวน 905 คน ประกอบด้วย โรคความดันโลหิตสูง 469 คน โรคเบาหวาน 47 คน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 271 คนโรคไตวาย 8 คน โรคหัวใจ 32 คน โรคมะเร็ง 8 คน โรคหลอดเลือดสมอง 40 คน โรคหอบหืด 30 คน และสำหรับปี 2565 จากการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละ 35.43 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 42.09 ในบระเดียวกันหากผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคจากผลการคัดกรองไม่ตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทำให้แนวโน้มการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น และหากไม่มีการจัดการเกี่ยวกับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอาจทำให้มีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากขึ้นได้ในอนาคต ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำเลือดกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่ามิหรำ จึงได้จัดทำโครงการท่ามิหรำรวมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพแก่ อสม.และเครือข่ายดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของตำบลท่ามิหรำ เพื่อดำเนินงานป้องกันโรคไม่ไม่ติดต่อเรื้อรังของตำบลท่ามิหรำ สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสม กลุ่มป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที กลุ่มผู้ป่วยเดิมได้รับการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้ อสม. มีความรู้และมีศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพ อสม.
  2. กิจกรรมศึกษาดูงานและประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่
  3. การประชุมเครือข่ายเพื่อสรุปการดำเนินงานปี 2565 และจัดทำแผนดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในปี 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 100 ของ อสม. มีความรู้และศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
  2. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงทุกคนมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องสม่ำเสมอ สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากว่าร้อยละ 20 และกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการดุแลอย่างต่อเนื่อง 3.อัตราการเกิดโรครายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 10 4.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายรุนแรงต่อสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพ อสม.

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมอสม.และคณะทำงานเพื่อคืนข้อมูลโรคเรื้อรังและวิเคราะห์สาเหตุปัญหาของโรคเรื้อรัง
อบรม อสม. ทบทวนองค์ความรู้พัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีความรู้และมีศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน ร้อยละ 100

 

0 0

2. กิจกรรมศึกษาดูงานและประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่

วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่และประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ จำนวน 75 คน จำนวน 2 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ และมีการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อถอดบทเรียนที่ได้จากจากศึกษาดูงานกับการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่

 

0 0

3. การประชุมเครือข่ายเพื่อสรุปการดำเนินงานปี 2565 และจัดทำแผนดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในปี 2566

วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากไปศึกษาดุงาน จัดประชุมเครือข่ายเพื่อสรุปการดำเนินงานปี 2565 และจัดทำแผนดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในปี 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปี 2566

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
35.43 20.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
42.09 20.00

 

3 เพื่อให้ อสม. มีความรู้และมีศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้และมีศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ อสม. มีความรู้และมีศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพ อสม. (2) กิจกรรมศึกษาดูงานและประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ (3) การประชุมเครือข่ายเพื่อสรุปการดำเนินงานปี 2565 และจัดทำแผนดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในปี 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ท่ามิหรำรวมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3355-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรุณา วิสโยภาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด