โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 ”
ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565
ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,454.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคฟันผุเป็นโรคที่พบมากในกลุ่มเด็กปฐมวัย ปัจจุบันฟันผุในเด็กเริ่มพบได้ตั้งแต่อายุ 9 เดือน และพบเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 – 3 ปี ฟันผุทำให้เกิดปัญหาตามมาหลายอย่าง เช่น เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ นอนไม่หลับ และสูญเสียพลังงานเพิ่มขึ้นจากการติดเชื้อในช่องปาก ส่งผลให้ร่างกายของเด็กเจริญเติบโตไม่เต็มที่ เกิดภาวะเตี้ย แคระแกร็น และมีเส้นรอบวงสมองเล็กกว่าเด็กปกติได้ (สำนักทันตสาธารณสุขกรมอนามัย, 2556) จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ.2560 พบว่าร้อยละ 52.90 ของเด็กไทยมีฟันผุอย่างน้อยหนึ่งซี่ มีค่าเฉลี่ยฟัน อุด ถอน (dmft) 2.8 ซี่/คน และเมื่อแบ่งลำดับตามภูมิภาคพบว่า ภาคใต้มีฟันผุมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 80.2 มีค่า dmft เท่ากับ 5.1 ซี่/คน (สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2561)
จากการสำรวจสภาวะช่องปากเด็กปฐมวัย อำเภอศรีบรรพต ปี 2562, 2559,2563 และ2564 พบว่า เด็กมีฟันผุ ร้อยละ 54.9, 58.6, 67.5, และ 59.1ตามลำดับ โดยโรคฟันผุในเด็กเล็กจะลุกลามได้รวดเร็วมากทำให้เด็กจำนวนหนึ่งมีฟันผุเกือบทั้งปาก ปัญหาฟันผุส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของเด็กเล็ก การป้องกันฟันผุที่ได้ผลดียิ่งคือการแปรงฟันให้ถูกวิธี ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ และลดการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อฟันผุ ร่วมกับการส่งเสริมทันตสุขภาพ และต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ดูแลเด็กในการดูแลทันตสุขภาพร่วมด้วย
งานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวนโหนด จึงจัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก เพื่อออกให้บริการทันตกรรมป้องกัน เน้นการส่งเสริม เพื่อสุขภาพช่องปากที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
ข้อที่ 3 เพื่อตัวชี้วัด เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจเป้าหมายในกลุ่มเป้าหมายหลัก(กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านสวนโหนดและโรงเรียนบ้านหัสคุณ) 2. เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ 3. ตรวจ/บันทึก สภาวะช่องปากกลุ่มเป้าหมายหลัก 4. แจ้งผลการตรวจสุขภาพช่องปากของเด็ก 5. จัดกิจกรรมรณรงค์วันแปรงฟันในโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายหลักมีฟันผุลดลงจากปี 2564
2.อัตรา caries free ของกลุ่มเป้าหมายหลัก เพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
ข้อที่ 3 เพื่อตัวชี้วัด เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละการเกิดฟันผุลดลงจากปี 2565
2.ค่า dmft ลดลง
3. ค่า caries free เพิ่มขึ้น
207.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
ข้อที่ 3 เพื่อตัวชี้วัด เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจเป้าหมายในกลุ่มเป้าหมายหลัก(กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านสวนโหนดและโรงเรียนบ้านหัสคุณ) 2. เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ 3. ตรวจ/บันทึก สภาวะช่องปากกลุ่มเป้าหมายหลัก 4. แจ้งผลการตรวจสุขภาพช่องปากของเด็ก 5. จัดกิจกรรมรณรงค์วันแปรงฟันในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 ”
ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,454.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคฟันผุเป็นโรคที่พบมากในกลุ่มเด็กปฐมวัย ปัจจุบันฟันผุในเด็กเริ่มพบได้ตั้งแต่อายุ 9 เดือน และพบเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 – 3 ปี ฟันผุทำให้เกิดปัญหาตามมาหลายอย่าง เช่น เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ นอนไม่หลับ และสูญเสียพลังงานเพิ่มขึ้นจากการติดเชื้อในช่องปาก ส่งผลให้ร่างกายของเด็กเจริญเติบโตไม่เต็มที่ เกิดภาวะเตี้ย แคระแกร็น และมีเส้นรอบวงสมองเล็กกว่าเด็กปกติได้ (สำนักทันตสาธารณสุขกรมอนามัย, 2556) จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ.2560 พบว่าร้อยละ 52.90 ของเด็กไทยมีฟันผุอย่างน้อยหนึ่งซี่ มีค่าเฉลี่ยฟัน อุด ถอน (dmft) 2.8 ซี่/คน และเมื่อแบ่งลำดับตามภูมิภาคพบว่า ภาคใต้มีฟันผุมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 80.2 มีค่า dmft เท่ากับ 5.1 ซี่/คน (สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2561)
จากการสำรวจสภาวะช่องปากเด็กปฐมวัย อำเภอศรีบรรพต ปี 2562, 2559,2563 และ2564 พบว่า เด็กมีฟันผุ ร้อยละ 54.9, 58.6, 67.5, และ 59.1ตามลำดับ โดยโรคฟันผุในเด็กเล็กจะลุกลามได้รวดเร็วมากทำให้เด็กจำนวนหนึ่งมีฟันผุเกือบทั้งปาก ปัญหาฟันผุส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของเด็กเล็ก การป้องกันฟันผุที่ได้ผลดียิ่งคือการแปรงฟันให้ถูกวิธี ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ และลดการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อฟันผุ ร่วมกับการส่งเสริมทันตสุขภาพ และต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ดูแลเด็กในการดูแลทันตสุขภาพร่วมด้วย งานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวนโหนด จึงจัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก เพื่อออกให้บริการทันตกรรมป้องกัน เน้นการส่งเสริม เพื่อสุขภาพช่องปากที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง ข้อที่ 3 เพื่อตัวชี้วัด เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจเป้าหมายในกลุ่มเป้าหมายหลัก(กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านสวนโหนดและโรงเรียนบ้านหัสคุณ) 2. เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ 3. ตรวจ/บันทึก สภาวะช่องปากกลุ่มเป้าหมายหลัก 4. แจ้งผลการตรวจสุขภาพช่องปากของเด็ก 5. จัดกิจกรรมรณรงค์วันแปรงฟันในโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายหลักมีฟันผุลดลงจากปี 2564
2.อัตรา caries free ของกลุ่มเป้าหมายหลัก เพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
ข้อที่ 3 เพื่อตัวชี้วัด เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละการเกิดฟันผุลดลงจากปี 2565 2.ค่า dmft ลดลง 3. ค่า caries free เพิ่มขึ้น |
207.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายหลักได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
ข้อที่ 3 เพื่อตัวชี้วัด เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจเป้าหมายในกลุ่มเป้าหมายหลัก(กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านสวนโหนดและโรงเรียนบ้านหัสคุณ) 2. เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ 3. ตรวจ/บันทึก สภาวะช่องปากกลุ่มเป้าหมายหลัก 4. แจ้งผลการตรวจสุขภาพช่องปากของเด็ก 5. จัดกิจกรรมรณรงค์วันแปรงฟันในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายหลัก อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง ปี 2565 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......