กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการฟันสวย ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางธิดา เหมือนพะวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการฟันสวย ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-01-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันสวย ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันสวย ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L8406-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาสำคัญที่พบในประชาชนทุกกลุ่มวัย การมีสุขภาพช่องปากที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพร่างกายที่ดีช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิต เพราะเมื่อมีปัญหาสุขภาพช่องปากย่อมส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย การดูแลเพื่อให้เด็กมีฟันดีควรเริ่มตั้งแต่คุณแม่ตั้งครรภ์ เพราะฟันน้ำนมจะมีการสร้างตั้งแต่อายุครรภ์มารดาได้ 6 สัปดาห์ และการสร้างฟันต้องการสารอาหารหลายชนิดเช่นเดียวกับการเจริญเติบโตของร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแร่ธาตุจำพวกแคลเซียม ฟอสฟอรัส ซึ่งจะส่งผลให้เคลือบฟันและเนื้อฟันมีความแข็งแรง การเอาใจใส่ดูแลรักษาอนามัยช่องปากขณะตั้งครรภ์ที่ดีสามารถป้องกันการเกิดปัญหาช่องปากได้ ทั้งนี้ เนื่องมาจากในช่วงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพช่องปาก ได้แก่ โรคเหงือกอักเสบ โรคฟันผุ ซึ่งเชื้อโรคต่างๆในช่องปากแม่สามารถจะติดต่อไปสู่ลูกได้ และโรคฟันผุเป็นโรคที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก หากเกิดโรคฟันผุจะทำให้เด็กไม่สามารถบดเคี้ยวอาหารได้เชื้อโรคจะส่งผลให้เกิดอาการอักเสบ ปอดบวม อันจะส่งผลต่อสภาวะโภชนาการ การพัฒนาการด้านการเรียนรู้และพัฒนาการด้านบุคลิกภาพของเด็กเป็นอย่างมาก นอกจากนี้การพัฒนาการของโฆษณาขนมที่มีรสหวาน ซึ่งมีการผลิตในรูปแบบที่หลากหลาย ความเจริญ ทางการโฆษณามากขึ้น ส่งผลให้มีการบริโภคขนมหวานซึ่งมีส่วนประกอบของแป้งและน้ำตาลสูง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคฟันผุง่ายขึ้น เด็กประถมศึกษาถือเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก เพราะเป็นช่วงวัยที่เริ่ม มีการเปลี่ยนแปลงชุดฟันในช่องปากจากฟันน้ำนมเป็นฟันถาวร ฟันที่เริ่มขึ้นมาในช่องปาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟันกรามถาวรซี่แรกที่ขึ้นเมื่อเด็กอายุประมาณ 6 ปี จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสูงมาก เพราะการสะสมแร่ธาตุที่ผิวฟันยังไม่สมบูรณ์ และเด็กยังไม่สามารถแปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ โรคฟันผุเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยใช้มาตรการการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เช่น การใช้ฟลูออไรด์การใช้สารเคลือบหลุมร่องฟัน การแปรงฟัน นอกจากนี้โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานนั้นส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในช่องปาก เช่น การสูญเสียฟัน การเกิดโรคเหงือกอักเสบ โรคปริทันต์อักเสบ โรคของเนื้อเยื่ออ่อนภายในช่องปาก ต่อมน้ำลายทำงานลดลงและอาการปากแห้ง โรคฟันผุ การติดเชื้อราในช่องปาก อาการปวดแสบร้อนในปากหรือลิ้น ความผิดปกติของระบบประสาท และมีความเสี่ยงต่อโรคในช่องปากมากกว่าปกติ เช่น มีความชุกของโรคปริทันต์สูงกว่าคนที่ไม่โรค ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะไม่ทราบว่าเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จึงทําให้ผู้ป่วยจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปาก
ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นพื้นที่ที่พบปัญหาโรคฟันผุ และโรคเหงือกอักเสบในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พบว่าในปี 2564 เป็นโรคฟันผุ ร้อยละ 46.67 และโรคเหงือกอักเสบ ร้อยละ 83.33ในเด็กประถมศึกษา จากข้อมูลการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา ตั้งแต่ปี 2561 ถึง 2564 พบว่าเด็กอายุ 6-12 ปี มีฟันแท้ผุเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 35.67 52.23 53.88 และ 55.78 ตามลำดับ ซึ่งในปี 2564 พบฟันแท้ผุมากในเด็กอายุ 6 9 และ12 ปี คิดเป็นร้อยละ15.33 21.43 25 และ 27.02 ตามลำดับ และในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังพบว่ามีโรคฟันผุ ร้อยละ 60.5 และโรคเหงือกอักเสบ ร้อยละ 74.00ทั้งนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดนได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการฟันสวย ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2565 มีวัตถุประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากอย่างจริงจังตามบริบทและวิถีการดําเนินชีวิตในพื้นที่ และเพื่อให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก สามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธี การเข้ารับบริการรักษาทางทันตกรรมตามความจำเป็น ตลอดจนปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในด้านสุขภาพช่องปาก เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคในช่องปาก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้นได้ และมีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
  2. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
  4. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับให้บริการทันตกรรมตามความจำเป็น
  5. เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยตนเองอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. กิจกรรมให้บริการทันตกรรมตามความจำเป็น เช่น เคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ อุดฟัน ขูดหินปูน และถอนฟัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 75 ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 - 6 มีทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี และมีค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque Index)ลดลง
  2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองและลูกได้อย่างเหมาะสม
  3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
  4. กลุ่มเป้าหมายได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น เช่น เคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ อุดฟัน ขูดหินปูน และถอนฟัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้นได้ และมีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
60.00 75.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็ก 6 - 12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม (คน) มีผลงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ
40.00 50.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ หรือได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และplaque control เฉพาะเขตรับผิดชอบ
46.67 70.00

 

4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับให้บริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม
50.00 70.00

 

5 เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก และมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง
35.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 269
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก ตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้นได้ และมีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง (2) เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับให้บริการทันตกรรมตามความจำเป็น (5) เพื่อฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยตนเองอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (2) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมตามความจำเป็น เช่น เคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ อุดฟัน ขูดหินปูน และถอนฟัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟันสวย ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L8406-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธิดา เหมือนพะวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด