กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุระหว่าง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส หลักสูตร 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รุ่นที่ 1)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุระหว่าง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส หลักสูตร 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รุ่นที่ 1) ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
อ.ร.ต.อ.หญิง สุภาวดี อดิศัยศักดา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุระหว่าง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส หลักสูตร 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รุ่นที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2492-2-018 เลขที่ข้อตกลง 18/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุระหว่าง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส หลักสูตร 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รุ่นที่ 1) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุระหว่าง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส หลักสูตร 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รุ่นที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุระหว่าง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส หลักสูตร 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รุ่นที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2492-2-018 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,410.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลก ส่งผลให้หลายประเทศเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) รวมถึงประเทศไทยที่มีประชากรสูงอายุถึงร้อยละ ๑๖ นับเป็นอันดับสองของอาเซียน รองจากประเทศสิงคโปร์ที่มีประชากรสูงอายุถึงร้อยละ ๑๘ โดยในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีจำนวนประชากรรวม ๖๕.๑ ล้านคน แบ่งเป็นประชากรที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มีจำนวนถึง ๑๐.๓ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๖ ของประชากรไทยทั้งหมด เป็นเพศชายจำนวน ๔.๖ ล้านคน และเพศหญิงจำนวน ๕.๗ ล้านคน และในปี ๒๕๖๔ ประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ประชากรเกือบ ๑ ใน ๔ ของประเทศจะเป็นประชากรสูงอายุ และปี พ.ศ.๒๕๗๔ จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด โดยจะมีประชากรสูงอายุมากถึงร้อยละ ๒๘ (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, ๒๕๕๘) รวมถึงการคาดประมาณประชากรของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๘๓ คาดการณ์ไว้ว่าสัดส่วนของประชากรวัยเด็ก (อายุน้อยกว่า ๑๕ ปี) และวัยแรงงาน (อายุ ๑๕-๕๙ ปี) มีแนวโน้มลดลงสวนทางกับสัดส่วนประชากรสูงอายุที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ.๒๕๖๐ สัดส่วน ประชากรวัยเด็กจะเท่ากันกับสัดส่วนของประชากรวัยสูงอายุ และหากเปรียบเทียบสัดส่วนของประชากรวัยทำงานต่อประชากรวัยสูงอายุ จำนวน ๑ คน ที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาวะการพึ่งพิง จากเดิมที่มีประชากรวัยทำงานจำนวน ๔.๕ คน คอยดูแลประชากรวัยสูงอายุ ๑ คน อีกไม่เกิน ๑๔ ปีข้างหน้า สัดส่วนดังกล่าวจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยจะมีประชากรวัยทำงานเพียง ๒.๕ คน ที่ดูแลประชากรวัยสูงอายุ ๑ คน (คณะทำงานคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๘๓, ๒๕๕๕)
    จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้การจัดสรรทรัพยากรของประเทศ ทั้งทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมในภาพรวม โดยสัดส่วนประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นย่อมหมายถึงภาระของรัฐ ชุมชน และครอบครัว ในการทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุ ทั้งการดูแลสุขภาพ การจัดสวัสดิการและบริการที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ การจัดหาที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการป้องกันสุขภาพผู้สูงอายุให้มีความแข็งแรงและยืดระยะเวลาการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการเข้าสู่ภาวะทุพพลภาพให้ช้าที่สุด จึงเป็นความท้าทายที่ ประเทศไทยจำเป็นต้องเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์เหล่านี้ ซึ่งรัฐบาลได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในประเด็นของการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อการแก้ไขปัญหาข้อจำกัดของการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เนื่องจากการลดลงของภาวะเจริญพันธุ์ที่ทำให้บุตรซึ่งเป็นผู้ดูแลหลักลดลง รวมทั้งแบบแผนการย้ายถิ่นของกำลังวัยแรงงานไปทำงานพื้นที่อื่นทำให้กำลังหลักของครอบครัวที่จะให้การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวลดลง จึงได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวผ่านคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ (กผส.) โดยมอบหมายให้อนุกรรมการบูรณาการจัดทำมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุ ดำเนินการจัดทำมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุขั้นสูง จำนวน 70 ชั่วโมง ที่เป็นมาตรฐานหลักสูตรกลาง
ของประเทศ ให้หน่วยงาน สถาบัน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถนำไปเป็นแนวทางดำเนินการจัดการเรียนการสอน เพื่อการสร้างผู้ดูแลที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานของวิชาชีพ     จังหวัดนราธิวาสมีจำนวนผู้สูงอายุทั้งสิ้น 93,592 คน โดยในตำบลโคกเคียน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งสิ้น 2,314 คน โดยจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจำนวน 19 ราย (กรมกิจการผู้สูงอายุ, 2565) ซึ่งผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจำเป็นต้องได้รับการดูจากผู้ดูแลอย่างสูงมากทั้งด้านในชีวิตประจำวัน การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล อาหาร ด้านสุขภาพ ฯลฯ ผู้สูงอายุที่มีภาระพึ่งพิงเป็นกลุ่มที่มีภาระการดูแลสูงต้องการผู้ดูแลคอยช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวันโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยร่วมด้วย ต้องได้รับการดูแลที่มีความซับซ้อนขึ้น
    ผู้สูงอายุจึงจำเป็นที่จะต้องการการดูแลจากผู้ดูแล ดังนั้นผู้ดูแลจึงมีความสำคัญอย่างมาก อีกทั้งผู้สูงอายุยังมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุและการรับมือกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการดูแล ซึ่งหากผู้ดูแลที่เป็นบุคคลหลักในการดูแลผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าว ก็จะส่งผลต่อคุณภาพการดูแลผู้สูงอายุเช่นกัน นำไปสู่การละเลยในการดูแล ส่งผลเสียด้านสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ     ดังนั้นการจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อเตรียมการรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ในท้องถิ่น ชุมชน จึงเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ผ่านการอบรมสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ถูกต้องเหมาะสม
    2. จำนวนผู้ดูแลผู้สูงอายุมีจำนวนมากขึ้นเพื่อเตรียมการรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ในท้องถิ่น ชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้สูงอายุทุกคนที่ผ่านการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุร้อยละ 100
    100.00

     

    2 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้สูงอายุทุกคนที่ผ่านการอบรมมีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน สามารถให้การดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อดูแลผู้สูงอายุระหว่าง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส หลักสูตร 70 ชั่วโมง ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (รุ่นที่ 1) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 65-L2492-2-018

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อ.ร.ต.อ.หญิง สุภาวดี อดิศัยศักดา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด