กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ การคัดกรองผู้ป่วยระยะท้าย(Palliative care) เชิงรุกในพื้นที่พหุวัฒนธรรมตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ”

หมู่ที่1 - ม.13 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางบุญประสม นิลกาฬ

ชื่อโครงการ การคัดกรองผู้ป่วยระยะท้าย(Palliative care) เชิงรุกในพื้นที่พหุวัฒนธรรมตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ หมู่ที่1 - ม.13 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5192-2-4 เลขที่ข้อตกลง 66-L5192-2-4

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"การคัดกรองผู้ป่วยระยะท้าย(Palliative care) เชิงรุกในพื้นที่พหุวัฒนธรรมตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่1 - ม.13 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การคัดกรองผู้ป่วยระยะท้าย(Palliative care) เชิงรุกในพื้นที่พหุวัฒนธรรมตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " การคัดกรองผู้ป่วยระยะท้าย(Palliative care) เชิงรุกในพื้นที่พหุวัฒนธรรมตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่1 - ม.13 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5192-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้ป่วยระยะท้ายจะมีการดำเนินของโรคเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต การทำงานของอวัยวะสำคัญจะทรุดลงไปเรื่อยๆจนกว่าร่างกายไม่สามารถกลับเข้าสู่สภาพปกติได้และเสียชีวิตในที่สุด ถึงแม้ปัจจุบันวิทยาการทางการแพทย์จะมีความเจริญก้าวหน้าทำให้ยืดชีวิตของผู้ป่วยออกไปได้มากขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยระยะท้ายในโรงพยาบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงกระทบต่อสุขภาพหลายด้าน และมีความแตกต่างกันตามปัจเจกบุคคล ภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วย สภาพความเป็นอยู่ สัมพันธภาพในครอบครัว ระบบการให้คุณค่า ความเชื่อ ปัจจัยต่างๆเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการรับรู้และการตอบสนองต่ออาการของแต่ละบุคคล ดังนั้นการดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยระยะท้ายจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่ตามความเป็นจริงและสามารถเผชิญความตายได้อย่างสงบ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่พหุวัฒนธรรม มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 60 ศาสนาพุทธ ร้อยละ 40 การจัดบริการจึงต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิต และขนบธรรมเนียบประเพณีในปี 2561 มีการค้นหาผู้ป่วยระยะท้ายเชิงรุก พบผู้ป่วยจำนวน 216 รายร้อยละ 0.3 ของประชากรในพื้นที่ในปี 2563-2565 ในเขตตำบลลำไพลพบว่ามีผู้ป้วยระยะท้ายจำนวน 10,5และ9 ตามลำดับ และใน ปี 2565 ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล พบว่ามีผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ซึ่งได้แก่ผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 12 คน ผู้พิการ 112 คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 4 คนโดยบางกลุ่มยังไม่ได้รับการประเมินว่าเป็นผู้ป่วยระยะท้ายหรือไม่ เนื่องจากสถานกานณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้ไม่สามารถออกค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกได้ ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแล จึงมีเฉพาะผู้ป่วยที่เข้าสู่ระบบของโงพยาบาล หรือ รพ.สต. การเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวข้างต้นถือเป็นโรคที่คุกคามชีวิตของผู้ป่วย จำเป็นต้องได้รับการดูแล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยดังกล่าวได้รับการดูแลที่ดีตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการเจ็บป่วยจนถึงระยะสุดท้ายของชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
  2. 2. เพิ่มศักยภาพบุคลากรในการจัดบริการและดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
  3. 3.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
  4. 4.เพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลแบบประคับประคอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง
  2. จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน
  3. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน ประธาน อสม. เจ้าหน้าที่ ใน รพ.สต. ตัวแทนเทศบาลตำบลลำไพล หน่วยงานอื่นในพื้นที่
  4. ติดตามการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน
  5. ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน
  6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการและนำเสนอโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 16
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 112
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ป่วยระยะท้าย 24

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถค้นหาผู้ป่วยระยะท้าย( PalliativeCare)เชิงรุกในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น 2.ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคองตามมาตรฐานจนถึงวาระสุดท้าย 3.ผู้ป่วยระยะท้ายเข้าถึงการดูแลแบบประคับประคอง จากทีมสุขภาพ ครอบครัวและชุมชน รวมทั้งผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองในช่วงเวลาของภาวะโรคและอาการได้อย่างเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ร้อยละ 100
24.00 24.00

 

2 2. เพิ่มศักยภาพบุคลากรในการจัดบริการและดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
ตัวชี้วัด : บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ร้อยละ 100
120.00 120.00

 

3 3.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
ตัวชี้วัด : มีระบบการดูแลผู้ป้วยระยะท้ายแบบประคับประคองที่มีประสิทธิภาพ
1.00 1.00

 

4 4.เพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลแบบประคับประคอง
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 152
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 16
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 112
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
ผู้ป่วยระยะท้าย 24

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (2) 2. เพิ่มศักยภาพบุคลากรในการจัดบริการและดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (3) 3.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (4) 4.เพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลแบบประคับประคอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง (2) จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน (3) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน ประธาน อสม. เจ้าหน้าที่ ใน รพ.สต. ตัวแทนเทศบาลตำบลลำไพล หน่วยงานอื่นในพื้นที่ (4) ติดตามการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน (5) ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน (6) สรุปผลการดำเนินงานโครงการและนำเสนอโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การคัดกรองผู้ป่วยระยะท้าย(Palliative care) เชิงรุกในพื้นที่พหุวัฒนธรรมตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5192-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุญประสม นิลกาฬ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด