กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส


“ โครงการคัดกรองป้องกันโรคภาวะซึมเศร้าในวัยเรียนนักเรียนโรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา ”

โรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา

หัวหน้าโครงการ
นายรัชพล หิ้นนรานุกูล

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองป้องกันโรคภาวะซึมเศร้าในวัยเรียนนักเรียนโรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา

ที่อยู่ โรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L5164-02-08 เลขที่ข้อตกลง 08/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองป้องกันโรคภาวะซึมเศร้าในวัยเรียนนักเรียนโรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองป้องกันโรคภาวะซึมเศร้าในวัยเรียนนักเรียนโรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองป้องกันโรคภาวะซึมเศร้าในวัยเรียนนักเรียนโรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา รหัสโครงการ 2566-L5164-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,532.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ป่วยโรคซึมเศร้านำสู่การฆ่าตัวตาย กำลังเป็นปัญหาคุกคามสังคมไทย มีคนไทยอย่างน้อย 1.5 ล้านคนป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ปี 2564 มีผู้พยายามฆ่าตัวตาย 6 คนต่อชั่วโมง ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้ามีอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จสูงกว่าคนทั่วไปถึง 20 เท่า และ 70 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเสียชีวิตก่อนวัยอันควรในประเทศไทยมีผู้ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว โดยที่ผู้ป่วยจำนวนมากเข้าไม่ถึงการรักษา ซึ่งผู้ที่ป่วยรุนแรงจะนำไปสู่ความพยายามฆ่าตัวตาย อ้างอิงข้อมูลจากศูนย์โรคซึมเศร้าไทย กรมสุขภาพจิต ระบุว่า คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าถึง 1.5 ล้านคน โดยเฉลี่ยผู้ป่วยจำนวน 100 คน เข้าถึงการรักษาเพียง 28 คนเท่านั้น นอกจากนี้ ยังพบว่าเพศหญิงมีอัตราการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าได้มากกว่าเพศชาย แต่เพศชายมีอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จมากกว่า โดยในปี 2564 คนไทยพยายามฆ่าตัวตายชั่วโมงละ 6 คน หรือทั้งปีมากกว่า 53,000 คน และเสียชีวิตราว 4,000 คน ซึ่งการฆ่าตัวตายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ในไทย โดยข้อมูลจากศูนย์ป้องกันการฆ่าตัวตายระดับชาติ กรมสุขภาพจิต ระบุว่าจำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ สาเหตุจากภาวะซึมเศร้า 10% ขณะที่สาเหตุการฆ่าตัวตายส่วนใหญ่มาจากปัญหาอื่นๆ เช่น ด้านความสัมพันธ์ ฯลฯ และนอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นภัยเงียบของสุขภาพเป็นได้ทุกวัย หากไม่ได้รับการแก้ไขจะมีผลกระทบรุนแรง ทำงานหรือเรียนหนังสือไม่ได้ อนาคตในอีก 18 ปี ข้างหน้าจะส่งผลกระทบกลายเป็นภาระการดูแลรักษาอันดับ 1 ของทั่วโลก

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพจิตส่งผลต่อสุขภาพเป็นอย่างมาก และพบค่อนข้างมากในกลุ่มวัยรุ่นในวัยเรียนโดยเฉพาะโรคซึมเศร้า นับเป็นโรคหนึ่งที่สร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ป่วย เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะทำให้หมดกำลังใจ ท้อแท้ในชีวิต ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนและการทำงานลดลงอย่างชัดเจน ส่งผลกระทบต่อตัววัยรุ่น ครอบครัวและสังคม ประกอบกับปัจจุบันนักเรียนโรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยามีปัญหาด้านสุขภาพจิต ความเครียดซึ่งกลุ่มงานแนะแนวได้ให้นักเรียนทำการประเมินแบบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น (อายุ 11-20 ปี) ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผลปรากฏว่า นักเรียน จำนวน 264 คน มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางไปจนถึงภาวะรุนแรงจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 13.64 และ มีความคิดในการจะทำร้ายตัวเองโดยการฆ่าตัวตายที่ทำการประเมิน จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 10.98 ซึ่งปัญหาสุขภาพจิตดังกล่าวนี้ ส่งผลต่อสุขภาพเป็นอย่างมาก โรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยาได้เล็งเห็นถึงถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการวัยรุ่น วัยใส สุขภาพกายใจ เบิกบาน ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยงโรคภาวะซึมเศร้า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต ป้องกันตนเองไม่ให้เกิดภาวะซึมเศร้าในตนเองได้
  2. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนในกลุ่มเสี่ยงในภาวะซึมเศร้า เพิ่มความรู้สึกของคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
  3. เพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะความเสี่ยงโรคซึมเศร้าในระดับกลางจนถึงระดับรุนแรง และคิดฆ่าตัวตายได้รับการบริการด้านสุขภาพจิต นำไปปรับใช้ดูแลตนเอง และ ครอบครัว ให้มีความสุขต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินสุขภาวะทางจิต
  2. จัดอบรมให้ความรู้ และปรับเปลี่ยนทัศนะคติ ความคิด
  3. กิจกรรมติดตามประเมินผลและส่งต่อ
  4. กิจกรรมรายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต ป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยเป็นโรคภาวะซึมเศร้าในตนเอง
  2. นักเรียนกลุุ่มเสี่ยงมีตระหนักถึงคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
  3. นักเรียนที่มีภาวะความเสี่ยงโรคซึมเศร้าในระดับกลางจนถึงระดับรุนแรง และคิดฆ่าตัวตายได้รับการได้รับการบริการด้านสุขภาพจิต นำไปปรับใช้ดูแลตนเอง และ ครอบครัว ให้มีความสุขต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยงโรคภาวะซึมเศร้า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต ป้องกันตนเองไม่ให้เกิดภาวะซึมเศร้าในตนเองได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต ป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยเป็นโรคภาวะซึมเศร้าในตนเอง
0.00 5.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนในกลุ่มเสี่ยงในภาวะซึมเศร้า เพิ่มความรู้สึกของคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 95 มีความตระหนักถึงคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะความเสี่ยงโรคซึมเศร้าในระดับกลางจนถึงระดับรุนแรง และคิดฆ่าตัวตายได้รับการบริการด้านสุขภาพจิต นำไปปรับใช้ดูแลตนเอง และ ครอบครัว ให้มีความสุขต่อไป
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการบริการด้านสุขภาพจิต นำไปปรับใช้ดูแลตนเอง และ ครอบครัว ให้มีความสุขต่อไป
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยงโรคภาวะซึมเศร้า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต ป้องกันตนเองไม่ให้เกิดภาวะซึมเศร้าในตนเองได้ (2) เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนในกลุ่มเสี่ยงในภาวะซึมเศร้า เพิ่มความรู้สึกของคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข (3) เพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะความเสี่ยงโรคซึมเศร้าในระดับกลางจนถึงระดับรุนแรง และคิดฆ่าตัวตายได้รับการบริการด้านสุขภาพจิต นำไปปรับใช้ดูแลตนเอง และ ครอบครัว ให้มีความสุขต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินสุขภาวะทางจิต (2) จัดอบรมให้ความรู้ และปรับเปลี่ยนทัศนะคติ ความคิด (3) กิจกรรมติดตามประเมินผลและส่งต่อ (4) กิจกรรมรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองป้องกันโรคภาวะซึมเศร้าในวัยเรียนนักเรียนโรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L5164-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรัชพล หิ้นนรานุกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด