กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดสารเคมีบริโภคอาหารปลอดภัย
รหัสโครงการ 66-L5307-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกาเนะ
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 มีนาคม 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 26,760.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอรุนา ตาเดอิน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 128 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ ของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ท่ีมีภาวะเสี่ยงต่อการบริโภคผักที่มีสารเคมีตกค้าง

การมีสุขภาพดีเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์และเป็นสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองให้มีสุขภาพดี อันหมายถึงการมีสภาวะความสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจและปราศจากโรคภัยต่าง ๆ ตลอดจนการมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างดี และการมีทักษะในการดูแลสุขภาพสามารถดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมีคุณค่าใฝ่เรียนรู้อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ปัจจุบันผักและผลไม้ที่วางขายตามท้องตลาดส่วนมากมีสารปนเปื้อน มีสารตกค้างเนื่องจากผู้ปลูกนำวัตถุที่เป็นสารเคมีมาใช้เพื่อเร่งผลผลิต กำจัดศัตรูพืชเมื่อซื้อมาใช้ปรุงอาหารกลางวันให้กับนักเรียนก่อให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพของนักเรียน และทางโรงเรียนมีเศษวัสดุที่เหลือจากการทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียนสามารถนำมาเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยหมัก ดังนั้นโรงเรียนจึงมีโครงการโรงเรียนปลอดสารเคมีบริโภคอาหารปลอดภัย

141.00
2 ร้อยละครัวเรือนที่มีปัญหาขยะ

การจัดการกับขยะ เป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนโดยเฉพาะขยะเปียกควรรู้จักวิธีกำจัดซึ่งเป็นขยะที่สามารถนำมาใช้เป็นปุ๋ยของพืชได้

100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารปลอดสารเคมี

นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารปลอดสารเคมี

141.00 1.00
2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน มีทักษะในการทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพ

นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน มีทักษะในการทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพ

80.00
3 นักเรียนบริโภคผักในอาหารกลางวันปลอดสารเคมี

นักเรียนบริโภคผักในอาหารกลางวันปลอดสารเคมี

0.00
4 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุข

นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุข

90.00
5 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการกำจัดและใช้ประโยชน์ขยะเปียกได้ถูกต้อง

นักเรียนมีความรู้และทักษะในการกำจัดขยะเปียกในครัวเรือนได้

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
30 มี.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 การให้ความรู้และการฝึกปฏิบัติในเรื่องการปลูกพืชโดยไม่ใช้สารเคมีการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพฝึกและการกำจัดขยะเปียกในครัวเรือน 0 26,760.00 26,760.00
รวม 0 26,760.00 1 26,760.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารปลอดสารเคมี ร้อยละ 100
  2. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน มีทักษะในการทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละ80.00
  3. นักเรียนบริโภคผักในอาหารกลางวันปลอดสารเคมี ร้อยละ100
  4. นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงมีความสุข ร้อยละ 80.00
  5. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการกำจัดขยะเปียกในครัวเรือนร้อยละ 100
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.ย. 2565 00:00 น.