กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ


“ โครงการบริโภคปลอดภัย ใส่ใจสัญลักษณ์ Clean Food Good Taste ”



หัวหน้าโครงการ
งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการบริโภคปลอดภัย ใส่ใจสัญลักษณ์ Clean Food Good Taste

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5278-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริโภคปลอดภัย ใส่ใจสัญลักษณ์ Clean Food Good Taste จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริโภคปลอดภัย ใส่ใจสัญลักษณ์ Clean Food Good Taste



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริโภคปลอดภัย ใส่ใจสัญลักษณ์ Clean Food Good Taste " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5278-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ความปลอดภัยของอาหารที่บริโภคจึงมีความสำคัญเนื่องจากส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้บริโภคโดยตรงและพบว่าประชาชนไม่น้อย ที่ป่วยด้วยโรคที่มีอาหารเป็นสื่อ ทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพประชาชน รวมถึงเศรษฐกิจ และภาพลักษณ์ของพื้นที่เองนอกจากนี้เพื่อให้ประชาชนและผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย ทั้งอาหารสดและอาหารปรุงจำหน่ายจากสถานประกอบการจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐานฉะนั้นการพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร โดยเฉพาะในส่วนของอาหารปลอดภัยตามเกณฑ์มาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) จึงเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จส่วนหนึ่งของนโยบายที่ตั้งไว้ จากการดำเนินงานที่ผ่านมา มีเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 57 ร้าน ผ่านการประเมิน 5๗ ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีร้านที่ผ่านด้านกายภาพ จำนวน 51 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 89.47 ไม่ผ่านด้านกายภาพ 6 ร้านคิดเป็นร้อยละ 14.67ด้วยเหตุผลดังกล่าวเทศบาลเมืองบ้านพรุจึงเล็งเห็นความสำคัญที่จะตอบสนองความต้องการของประชาชนในการได้รับความคุ้มครองด้านการบริโภคอาหาร และเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เป็นพื้นฐานในการที่จะพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) เทศบาลเมืองบ้านพรุจึง จัดทำ “โครงการบริโภคปลอดภัย ใส่ใจสัญลักษณ์ Clean Food Good Taste” ประจำปี ๒๕66 ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ลดความเสี่ยงการเกิดโรคจากการบริโภคอาหารและน้ำดื่มของประชาชนในพื้นที่และส่งผลให้เกิดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย (Food safety) ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  2. กิจกรรมอบรม
  3. กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร
  4. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  5. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  6. กิจกรรมอบรม
  7. กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร
  8. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองดูแลสุขภาพ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม ปลอดภัย
  2. ร้านอาหารได้มาตรฐานตามโครงการ อาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคใส่ใจการเลือกอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ โดยใช้สื่อป้ายไวนิล แผ่นพับ และประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโซเชียล เพื่อให้ผู้บริโภคใส่ใจการเลือกบริโภคอาหารจากร้านที่มีป้ายสัญลักษณ์ อาหารสะอาด รสชาติอร่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร

 

50 0

2. กิจกรรมอบรม

วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกให้คำแนะนำผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้ปรุง/ผู้เสิร์ฟ ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคลของผู้สัมผัสอาหาร ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร/ให้ความรู้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการมีความรู้และปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

 

50 0

3. กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร

วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกตรวจร้านจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาดอร่อย โดยใช้ชุด SI-2 (ชุดตรวจสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้านจำหน่ายอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหารเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 58 ร้าน ผ่านการประเมิน 58 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ
8.00 6.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมอบรม (3) กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร (4) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (5) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (6) กิจกรรมอบรม (7) กิจกรรมตรวจร้านจำหน่ายอาหาร (8) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริโภคปลอดภัย ใส่ใจสัญลักษณ์ Clean Food Good Taste จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5278-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด