กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2566 ”

ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายซูการ์นอ มะตีมีน

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4135-04-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4135-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 156,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ลงวันที่ 13 กันยายน 2561 ข้อ 10 กำหนดว่า "เงินกองทุนหลักปนะกันสุขภาพ ตาม ข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกกรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ (4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯให้มีประสิทธิภาพของ อปท. ไม่เกิน ร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนฯตามข้อ7 (1)(2) และ(3) ในเเต่ละปีงบประมาณนั้น หาก อปท.ใดได้รับเงินเพิ่มตามข้อ 7 วรรคสอง (ค่าบริการ LCT) อาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้อีกไม่เกินร้อยละ 5 กรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ให้สนับสนุนได้ในวงเงินตามความจำเป็น และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้เป็นทรัพย์สินของ อปท. นั้น ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุวัฒถุประสงค์ โดยคำนึงถึงสถานะการคลังของกองทุนฯ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี
  2. เพื่่อเผยเเพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุนฯ และส่งเสริมให้ภาคีเครื่อข่ายต่างๆ มีส่วนร่มการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ
  3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุนฯ และเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
  4. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดทำแผนสุขภาพประจำปี
  2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 20 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ จำนวน 6 ครั้ง/ปี
  3. ประชุมคณะกรรมการกองทุน LTC และคณะทำงาน 12 จำนวน 3 ครั้ง/ปี
  4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 13 จำนวน 3 ครั้ง/ปี
  5. การบริหารจัดการกองทุนฯ
  6. ประชาสัมพันธ์ และอบรมภาคีเครือข่ายในการของบประมาณกองทุนฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกกรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี สามารถบริหารจัดการกองทุนฯได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. องค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่สามรถดำเนินงานกองทุนฯ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุฯ
  3. ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบุดี มีส่วนร่วมและเข้าถึงบริการของกองทุนฯ
  4. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี มีการเผยแพร่การดำเนินงานของกองทุนฯ
  5. ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลบุดีได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 20 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ จำนวน 6 ครั้ง/ปี

วันที่ 1 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 18 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ ครั้งที่ 1/66 วันที่ 1 ธ.ค.65   - ค่าตอบแทนของผู้เข้าร่วประชุม 18 คน x 400.-บาท เป็นเงิน 7,200.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 18 คน x 1 มื้อ x 35.- บาท  เป็นเงิน 700.- บาท   รวมเป็นเงิน 7,900.- บาท (-เจ็ดพันเก้าบาทถ้วน-)
  2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 18 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ ครั้งที่ 1/66 วันที่ 1 ธ.ค.65   - ค่าตอบแทนของผู้เข้าร่วประชุม 23 คน x 400.-บาท เป็นเงิน 9,200.- บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 23 คน x 1 มื้อ x 35.- บาท  เป็นเงิน 805.- บาท   รวมเป็นเงิน 10,005.- บาท (-หนึ่งหมื่นห้าบาทถ้วน-)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 18 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ ครั้งที่ 1/66 วันที่ 1 ธ.ค.65     = อนุมัติแผนการเงิน ปีงบประมาณ 2566/อนุมัติโครงการบริหารกองทุนฯ งบประมาณ 2566
  2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 16 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ ครั้งที่ 2/66 วันที่ 21 มี.ค. 66     = อนุมัติแผนสุขภาพ ปีงบประมาณ 2566/คัดเลือกคณะอนุกรรมการสนับสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิง

 

20 0

2. การจัดทำแผนสุขภาพประจำปี

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 40 คน  เป็นเงิน  2,800.- บาท   2. ค่าอาหารกลางวัน 75 บาท x 1 มื้อ x 40 คน            เป็นเงิน  3,000.- บาท           รวมเงินทั้งสิ้น 5,800.- บาท (-เงินห้าพันหนึ่งร้อยสามสิบบาทถ้วน-)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดประชุมเพื่อจัดทำแผนสุขภาพชุมชนตำบลบุดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในวันที่ 15 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลบุดี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัญหา ความต้องการของชุมชน แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ ที่เกิดขึ้น ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ได้แสดงความคิดเห็นที่แตกต่างและหลากหลายมากขึ้น และรวบรวมข้อมูลดังกล่าว ในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี พ.ศ. 2566

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะทำงานกองทุนมีการเข้าร่วมประชุมตามกำหนดการที่กำหนด

 

2 เพื่่อเผยเเพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุนฯ และส่งเสริมให้ภาคีเครื่อข่ายต่างๆ มีส่วนร่มการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ
ตัวชี้วัด : - การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน กองทุนฯ อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง - กองทุนฯมีการสนับสนุนงบประมาณให้ภาคีเครือข่ายในปีงบประมาณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุนฯ และเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลบุดีมีความพึงพอใจในการดำเนินงานกองททุนฯ

 

4 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี (2) เพื่่อเผยเเพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุนฯ และส่งเสริมให้ภาคีเครื่อข่ายต่างๆ มีส่วนร่มการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุนฯ และเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข (4) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดทำแผนสุขภาพประจำปี (2) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 20 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ จำนวน 6 ครั้ง/ปี (3) ประชุมคณะกรรมการกองทุน LTC และคณะทำงาน 12 จำนวน 3 ครั้ง/ปี (4) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 13 จำนวน 3 ครั้ง/ปี (5) การบริหารจัดการกองทุนฯ (6) ประชาสัมพันธ์ และอบรมภาคีเครือข่ายในการของบประมาณกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4135-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซูการ์นอ มะตีมีน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด