กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กโรงเรียนบ้านปากปิง ”




หัวหน้าโครงการ
นางญาดา นุ้ยไฉน




ชื่อโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กโรงเรียนบ้านปากปิง

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8010-2-01 เลขที่ข้อตกลง 05/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กโรงเรียนบ้านปากปิง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กโรงเรียนบ้านปากปิง



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กโรงเรียนบ้านปากปิง " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2566-L8010-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลการสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของเด็กและเยาวชนไทย ปี 2561 โดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า มีเด็กไทยประมาณ 1 ใน 4 หรือร้อยละ 26.2 เท่านั้น ที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ 60 นาทีต่อวัน ตามขอแนะนำขององค์การอนามัยโลก (WHO) สถานการณ์ดังกล่าวสะท้อนถึงความจำ อย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยต้องมีการส่งกิจกรรมทางกายให้กับเด็กไทยอย่างจริงจังและต่อเนื่องมากยิ่งขึ้น เมื่อศึกษาถึงต้นตอของปัญหา อาจกล่าวได้ว่าเหตุผลสำคัญที่มีส่วนทำให้เด็กไทยมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอนั้น เนื่องมาจากวิถีชีวิต การเรียน และรูปแบบการเล่นของเด็กเปลี่ยนไปจากอดีต จากเดิมเด็กคือ ใช้เวลาว่างออกไปเล่นกับเพื่อนเปลี่ยนเป็นการใช้เวลาว่างหมดไปกับหน้าจออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ

เมื่อสำรวจข้อมูลการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิงทุกชั้นเรียน ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 105 คน แต่ละช่วงวัยมีพฤติกรรมการมีกิจกรรมทางกายที่ลดลง เนื่องจาก พฤติกรรมเนือยนิ่งมากขึ้น จากการเล่นโทรศัพท์มือถือ การใช้จอคอมพิวเตอร์ การสื่อสารทางโลกออนไลน์ ทำให้มีนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอคิดเป็นร้อยละ 68.57 จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด โรงเรียนบ้านปากปิงเห็นถึงความสำคัญและต้องการแก้ไขปัญหาในเรื่องการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนในแต่ละช่วงวัย เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกิจกรรมทางกายของนักเรียนในแต่ละช่วงวัยโรงเรียนบ้านปากปิงให้ไปในทิศทางที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และผู้ปกครอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินกิจกรรมทางกายของนักเรียน
  2. การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านกิจกรรมทางเลือก
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  4. การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย
  5. ประเมินนักเรียนและถอดบทเรียน
  6. สรุปผลและรายงานผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 105
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 4 51
กลุ่มนักเรียนชั้นอนุบาลและผู้ปกครอง 50
กลุ่มนักเรียนแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 27

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มแกนนักเรียน กลุ่มนักเรียนและผู้ปกครองมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประเมินกิจกรรมทางกายของนักเรียน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. ประเมินเกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนทุกชั้นโดยครูประจำชั้น โดยนักเรียนทั้งหมดจำนวน 105 คน

ครูประจำชั้นแต่ละห้องเรียน สำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนแต่ละคน โดย บันทึกลงในแบบสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน ก่อนและหลังการดำเนินโครงการ แผนการดำเนินงาน

  • เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม นำเสนอโครงการ

  • เดือนพฤษภาคม ประเมินนักเรียนแต่ละชั้น และสร้างกลไกขับเคลื่อนแกนนำนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และอบรมนักเรียนกลุ่มอนุบาลและผู้ปกครอง

  • เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนธันวาคม ดำเนินกิจกรรมทางกายแต่ละประเภท

  • เดือนธันวาคม ประเมินนักเรียน ถอดบทเรียน สรุปผลและประเมินผล ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ร้อยละของกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 27 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80
  • ร้อยละของกลุ่มอนุบาล และผู้ปกครอง จำนวน 50 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80
  • ร้อยละของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 51 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มนักเรียนแกนนำ กลุ่มอนุบาล ผู้ปกครอง นักเรียนชั้นป.1 - ป.4 ให้ความร่วมมือในการประเมินกิจกรรมทางกายของนักเรียน

 

0 0

2. การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านกิจกรรมทางเลือก

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมทางเลือก (การปลูกผักสวนครัว) (รดน้ำต้นไม้) - นักเรียนแต่ละคนเลือกทำกิจกรรมทางเลือกเล่นกีฬาคามความสนใจและความถนัดของตนเอง - ประเมินจากแบบสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนแต่ละคน โดย บันทึกลงในแบบสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน หลังการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนทั้งหมด 105 คน

งบประมาณ

อุปกรณ์พรวนดิน จำนวน 6 ชุด ชุดละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

บัวรดน้ำ ขนาด 4 ลิตร จำนวน 12 ชุด ชุดละ 70 บาท เป็นเงิน 840 บาท

จอบด้ามเหล็ก 5 ชุด ชุดละ 200 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

คราดเหล็ก 2 ชุด ชุดละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 2 มีนาคม 2566 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ร้อยละของกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 27 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มอนุบาล และผู้ปกครอง จำนวน 50 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 51 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิงแต่ละคนเลือกทำกิจกรรมทางเลือกตามความสนใจ และความถนัดของตนเอง (การปลูกผักสวนครัว รดน้ำต้นไม้)

 

0 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ 1 ประเมินกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท โดยแบบประเมิน ก่อนการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท

  • ให้ความรู้กลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละประเภท

  • ประเมินความรู้หลังการอบรมของกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยแบบประเมิน หลังการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท

เป้าหมาย

  • นักเรียนแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 27 คน ผู้สังเกตการณ์ 3 คน

งบประมาณ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆ ละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าป้ายไวนิล 500 บาท

อบรมกลุ่มแกนนำนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กำหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการ

07.30 น. - 08.00 น.ลงทะเบียน

08.00 น. - 09.00 น.กิจกรรมให้ความรู้ด้านการออกกำลังกายในแต่ละประเภท กลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

09.00 น. - 09.15 น.พักเบรก

09.15 น. - 11.15 น.กิจกรรมให้ความรู้ด้านการออกกำลังกายในแต่ละประเภทกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ต่อ)

11.15 น. - 12.30 น.พักกลางวัน

12.30 น. - 13.30 น.อบรมให้ความรู้ด้านการออกกำลังกายในแต่ละประเภทนักเรียนชั้นอนุบาลและผู้ปกครอง

13.30 น. - 14.00 น.พักเบรก

14.00 น. - 16.00 น. อบรมให้ความรู้ด้านการออกกำลังกายในแต่ละประเภทนักเรียนชั้นอนุบาลและผู้ปกครอง (ต่อ)

2.2 อบรมให้ความนักเรียนชั้นอนุบาลและผู้ปกครอง โดยนักเรียนแกนนำที่ผ่านการอบรม

ประเมินความรู้นักเรียนชั้นอนุบาลและผู้ปกครอง ก่อนก่อนการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท โดยแบบประเมิน ก่อนการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท

ให้ความรู้นักเรียนกลุ่มอนุบาลและผู้ปกครอง ในเรื่องการออกกำลังกายในแต่ละประเภท

ประเมินความรู้หลังการอบรมการออกกำลังกายแต่ละประเภท ของกลุ่มอนุบาลและผู้ปกครอง โดยแบบประเมิน หลังการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท กลุ่มเป้าหมาย

นักเรียนชั้นอนุบาล 25 คน ผู้ปกครองนักเรียน 25 คน งบประมาณ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆ ละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท 2.3 อบรมให้ความรู้นักเรียนชั้น ป.1 - ป.4 โดยนักเรียนที่ผ่านการอบรม

ประเมินความรู้นักเรียนชั้นป.1 - ป.4 ก่อนก่อนการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท โดยแบบประเมิน ก่อนการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท

ให้ความรู้นักเรียนกลุ่มป.1 - ป.4 ในเรื่องการออกกำลังกายในแต่ละประเภท

ประเมินความรู้หลังการอบรมการออกกำลังกายแต่ละประเภท ของนักเรียนชั้นป.1 - ป.4โดยแบบประเมิน หลังการเข้าร่วมโครงการ การออกกำลังกายแต่ละประเภท

กลุ่มเป้าหมาย 1. นักเรียนชั้นป.1 - ป.4 จำนวน 69 คน

งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 69 คนๆ ละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,725 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ร้อยละของกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 27 คน ที่มีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มนักเรียนชั้นอนุบาลและผู้ปกครอง ที่มีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีความรู้เกี่ยวกับการมีกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เชิญวิทยากรจากภายนอกมาให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

 

0 0

4. การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ การออกกำลังกาย (ฮูล่าฮูป) (ฟุตบอล) (วอลเลย์บอล) (แชร์บอล) นักเรียน 105 คน

  • นักเรียนแต่ละคนเลือกเล่นกีฬาคามความสนใจและความถนัดของตนเอง

  • ประเมินจากแบบสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนแต่ละคน โดย บันทึกลงในแบบสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน จำนวน 105 คน หลังการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนทั้งหมด 105 คน

งบประมาณ

ค่าวัสดุ อุปกรณ์ ฮูล่าฮูป จำนวน 50 ชุด ชุดละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท ลูกฟุตบอล จำนวน 6 ชุด ชุดละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท กรวยฟุตบอล จำนวน 2 ชุด ชุดละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท ลูกวอลเลย์บอล จำนวน 6 ชุด ชุดละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท ลูกบาสเกตบอล จำนวน 6 ชุด ชุดละ 100 บาท เป็นเงิน 600 บาท ตะกร้าแชบอล จำนวน 3 ชุด ชุดละ 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท ตาข่ายวอลเลย์บอล จำนวน 1 ชุด ชุดละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท ระยะเวลาดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ร้อยละของกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 27 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มอนุบาล และผู้ปกครอง จำนวน 50 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 51 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนออกกำลังกายแต่ละประเภท ได้แก่ ฟุตบอล , ฮูล่าฮูป , แชร์บอล , วอลเลย์บอล , บาสเกตบอล

 

0 0

5. ประเมินนักเรียนและถอดบทเรียน

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ - ประเมินจากแบบสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน 105 คนโดย บันทึกลงในแบบสำรวจการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน หลังการดำเนินโครงการ นักเรียน 105 คน เขียนสะท้อนความรู้ สิ่งที่ได้รับและร่วมกันถอดบทเรียนจากการเข้าร่วมโครงการ โดยเขียนลงในกระดาษบรู๊ฟ

งบประมาณ

กระดาษ A4 จำนวน 1 ลัง เป็นเงิน 750 บาท

กระดาษบรู๊ฟ จำนวน 50 แผ่น คิดเป็นเงิน 170 บาท

ปากกาเมจิก จำนวน 2 แพ็ค แพ็คละ 120 บาท คิดเป็นเงิน 240 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ร้อยละของกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 27 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มอนุบาล และผู้ปกครอง จำนวน 50 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 51 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ให้นักเรียนทำแบบประเมินหลังเข้าร่วมโครงการ
  • ให้นักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนจากที่ได้เข้าร่วมโครงการ

 

0 0

6. สรุปผลและรายงานผล

วันที่ 20 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ - จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

งบประมาณ ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลเป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ร้อยละของกลุ่มแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 27 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มอนุบาล และผู้ปกครอง จำนวน 50 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80 ร้อยละของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 51 คน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 80

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ จำนวน 2 เล่ม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และผู้ปกครองมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
10.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 258
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 105
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 4 51
กลุ่มนักเรียนชั้นอนุบาลและผู้ปกครอง 50
กลุ่มนักเรียนแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 27

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และผู้ปกครอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินกิจกรรมทางกายของนักเรียน (2) การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านกิจกรรมทางเลือก (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย (5) ประเมินนักเรียนและถอดบทเรียน (6) สรุปผลและรายงานผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กโรงเรียนบ้านปากปิง จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8010-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางญาดา นุ้ยไฉน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด