กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการ"วิถีโรงเรียนคุณภาพตามหลักสุขบัญญัติ" ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางจิราวรรณ ศุลกะนุเคราะห์

ชื่อโครงการ โครงการ"วิถีโรงเรียนคุณภาพตามหลักสุขบัญญัติ" ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-30 เลขที่ข้อตกลง 45/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2023 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ"วิถีโรงเรียนคุณภาพตามหลักสุขบัญญัติ" ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ"วิถีโรงเรียนคุณภาพตามหลักสุขบัญญัติ" ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ"วิถีโรงเรียนคุณภาพตามหลักสุขบัญญัติ" ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2023 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 132 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชน เป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่ง ที่จะส่งผลให้ประเทศเจริญก้าวหน้าการดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพ จะต้องเหมาะสมทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ซึ่งข้อปฏิบัติประการหนึ่งเกี่ยวกับพฤติกรรม ซึ่งเป็นพื้นฐานเริ่มต้นก็คือ "สุขบัญญัติแห่งชาติ" ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องได้จัดทำเป็นข้อกำหนดที่เป็นแนวทางปฏิบัติที่จำเป็นพื้นฐานในการดูแลสุขภาพกล่าว คือ สุขบัญญัติ เป็นข้อกำหนดที่เด็กและเยาวชนตลอดจนประชาชนทั่วไป พึงปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอจน เป็นสุขนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพดีทั่้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ตลอดจนเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการป้องกันโรค การละเลยในการปฏิบัติสุขบัญญัติข้อใดข้อหนึ่ง หมายถึง เรามีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยหรืออันตรายต่อสขุภาพ ซึ่งอาจจะเล็กน้อยหรือรุนแรงหรือเริ่มต้นด้วยการเจ็บป่วยเล็กน้อย แต่อาจนำหรือเป็นบ่อเกิดของโรคไม่ติดต่อเรื่้อรัง (ความดัน เบาหวาน อัมพฤต อัมพาต โรคหัวใจ) หรือโรคแทรกซ้อนที่มีอันตรายร้ายแรงตามมาภายหลัง ดังนั้นเพื่่อลดความเสี่ยงต่ออันตรายและโรคภัยไข้เจ็บ และเพื่อสุขภาพที่ดี จึงต้องปฏิบัติตามนสุขบัญญัติ ทั้ง 10 ประการ อย่างต่อเนื่องจนเป็นสุขนิสัย เพื่อการมีสุขภาพที่ดีการปลูกฝังและสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติในวัยเด็กและเยาวชนนับว่ามีความสำคัญยิ่ง เพราะเด็กจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์แข็งแรงมีพัมนาการที่สมวัย ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติที่ดีและมีการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติในสถานศึกษาจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถจัดประสบการณ์ในการสร้างเสริมทักษะที่จะเป็นและจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติหรือการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องได้อย่างสม่ำเสมอจนเป็นสุขนิสัยและมีความยั่งยืนในที่สุด ซึ่งจากการสำรวจข้อมูลนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก มีอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อปี 2565 (กลุ่มอายุ 7 - 14 ปี) โรคตาแดง 12 ราย,โรคอุจาระร่วง 52 ราย ,โรคไข้เลือด 18 ราย ฝ่ายสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นความสำคัญและเป็นปัจจัยในการส่งเสริมสุขภาพที่ดี จึงได้จัดโครงการ "วิถีโรงเรียนคุณภาพวิถีหลักสุขบัญญัติ" ประจำปี 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่่องสุขบัญญัติ
  2. เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตามสุขญัติที่ถูกต้อง
  3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ(โรคตาแดง,โรคอุจจาระร่วง, ไข้เลือดออก)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องนักสุขบัญญัติในโรงเรียน
  2. ประเมินผลโรงเรียนสุขบัญญัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขบัญญัติ ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และดำเนินงานสุขบัญญัติในโรงเรียน
  2. นักเรียนปฏิบัติตามสุขบัญญัติอย่างสม่ำเสมอจนเป็นนิสัยและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  3. ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ(โรคตาแดง,โรคอุจจาระร่วง, ไข้เลือดออก)ในโรงเรียนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องนักสุขบัญญัติในโรงเรียน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย เด็กนักเรียนประถมศึกษา 6 โรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก (โรงเรียนเทศบาล 1-4 , โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก , โรงเรียนบุญลาภนฤมิตร) โรงละ 20 คน ครูโรงเรียนละ 2 คน รวม 132 คน และคณะทำงาน 10 คน รวมเป็น 142 คน
รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
- อบรมให้ความรู้เรื่องนักสุขบัญญัติในโรงเรียน พร้อมชี้แจงการดำเนินงานตามเกณฑ์โรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ ณ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
กำหนดการ ดังนี้
เวลา 08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียน
เวลา 08.46 - 09.00 น. พิธีเปิดโครงการ โดย นายกเทศมนตรีเมืองสุไหงโก-ลก กล่าวรายงานโดย รองผู้อำนวยการกลุ่มปฐมภูมิ
เวลา 09.01 - 12.00 น. กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง “นักสุขบัญญัติในโรงเรียน” (วิทยากร แพทย์อายุรกรรม)
เวลา 12.01 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.01 - 16.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง บทบาท ยุว อสม.ในโรงเรียน(วิทยากร นักวิชาการสาธารณสุข)
เวลา 16.01 น. พิธีปิด
งบประมาณ
- ค่าอาหารกลางวัน 142 คน X 60 บาท X 1 มื้อเป็นเงิน 8,520 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 142 คน X 30 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 8,520 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ทำกิจกรรมอบรม(กระดาษเขียนแบบ/ปากกา/สื่อสุขบัญญัติ) เป็นเงิน 5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

2. ประเมินผลโรงเรียนสุขบัญญัติ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย ครูโรงละ 2 คน 6 โรง รวม 12 คน และคณะกรรมการประเมิน 5 คน รวมเป็นจำนวน 17 คน
รายละเอียดกิจกรรม
- ให้แต่ละโรงเรียนนำเสนอกิจกรรมของโรงเรียนสุขบัญญัติและประเมินผลโรงเรียนสุขบัญญัติ
กำหนดการ
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.01 - 12.00 น. กิจกรรมนำเสนอผลงานประเมินโรงเรียนสุขบัญญัติ
12.01 - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.01 - 16.00 น. กิจกรรมนำเสนอผลงานประเมินโรงเรียนสุขบัญญัติ(ต่อ) และสรุปผล
งบประมาณ ดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน 17 คน X 60 บาท เป็นเงิน 1,020 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 17 คน X 30 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 1,020 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่่องสุขบัญญัติ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทำแบบสอบถามความรู้หลังอบรมได้ไม่น้อยกว่า 85
50.00 85.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตามสุขญัติที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมดูแลสุขภาพตนเองสุขบัญญัติที่ถูกต้องไม่น้อยกว่า 80
50.00 80.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ(โรคตาแดง,โรคอุจจาระร่วง, ไข้เลือดออก)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ(โรคตาแดง,โรคอุจจาระร่วง, ไข้เลือดออก) ในโรงเรียนลดลง
20.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่่องสุขบัญญัติ (2) เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตามสุขญัติที่ถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ(โรคตาแดง,โรคอุจจาระร่วง, ไข้เลือดออก)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องนักสุขบัญญัติในโรงเรียน (2) ประเมินผลโรงเรียนสุขบัญญัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ"วิถีโรงเรียนคุณภาพตามหลักสุขบัญญัติ" ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-30

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราวรรณ ศุลกะนุเคราะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด