กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง ประจำปี 2566 ”

เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนะ กอซอ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง ประจำปี 2566

ที่อยู่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-32 เลขที่ข้อตกลง 53/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 66-L6961-1-32 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,970.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-19 ปีเพิ่มขึ้นอย่างมากจากเพียงร้อยละ 4 ในปี 2518 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 18 ในปี 2559 การเพิ่มขึ้นนี้เกิดขึ้นในลักษณะเดียวกันทั้งในเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิง เด็กและวัยรุ่นมากกว่า 124 ล้านคน ร้อยละ 6 ของเด็กผู้หญิง และร้อยละ 8 ของเด็กผู้ชาย เป็นโรคอ้วน ในปี 2559 น้ำหนักเกินและโรคอ้วนเชื่อมโยงกับการเสียชีวิตทั่วโลกมากกว่าน้ำหนักน้อย ทั่วโลกมีคนที่เป็นโรคอ้วนมากกว่าน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ซึ่งเกิดขึ้นในทุกภูมิภาค จากสถานการณ์ในประเทศไทย ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี มีแนวโน้มสูงมากขึี้น ในปี 2563–2565 พบภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 14.34, 11.09 และ 13.84 ตามลำดับเด็กเหล่านี้จะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพหลายระบบ โดยเฉพาะเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งพบว่าสูงขึ้นมากในช่วง 20 ปี เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็ยังคงอ้วนทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน รวมทั้งความดันโลหิตสูง
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากความไม่สมดุลของพลังงานที่ร่างกายได้รับกับพลังงานที่ถูกใช้ออกไป การรับประทานอาหารที่ให้พลังงานมากกว่าการใช้พลังงาน แบบแผนด้านการรับประทานอาหารและด้านการออกกาลังกายเปลี่ยนแปลง คือ รูปแบบการบริโภคอาหารเปลี่ยนจากการรับประทานอาหารที่ประกอบอาหารในบ้านเป็นการซื้ออาหารนอกบ้าน มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม เช่น มีความนิยมในการรับประทานสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป อาหารจานด่วน อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตและไขมันสูง ขนมหวาน น้ำอัดลม เครื่องดื่มที่มีรสหวานการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน วัฒนธรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สื่อ การจำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน และอิทธิพลจากเพื่อน ประกอบกับออกกาลังกายน้อยลง
ปี 2563 – 2565 อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส พบนักเรียนอายุ 6 – 14 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 62.71, 63.28 และ 58.20 ตามลำดับ และพบเด็กมีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนร้อยละ 8.93, 11.06 และ 9.55 ตามลำดับ ผลกระทบของภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนมีหลายประการ ได้แก่ ผลกระทบทางร่างกาย รูปร่าง การเคลื่อนไหว และการเกิดโรคเรื้อรัง ดังนั้นจึงจัดทำโครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี เพื่อให้นักเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีพฤติกรรมที่เหมาะสมเกิดทักษะชีวิต ที่จะนำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับนักเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
  3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ “เด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง”

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเยี่ยมเสริมพลังการดำเนินงานโครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง
  2. ประชุมประสานแผนการดำเนินงานโรงเรียนเป้าหมายในการจัดกิจกรรมพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง
  3. กิจกรรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพมากขึ้น
  2. นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
  3. มีแกนนำนักเรียนเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ “เด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง”

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ร้อยละ 60
40.00 60.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 50
48.00 50.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ “เด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง”
ตัวชี้วัด : นักเรียนเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ “เด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง” ร้อยละ 50
40.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับนักเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (3) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ “เด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง”

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเยี่ยมเสริมพลังการดำเนินงานโครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง (2) ประชุมประสานแผนการดำเนินงานโรงเรียนเป้าหมายในการจัดกิจกรรมพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง (3) กิจกรรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเท่ หุ่นดี แข็งแรง ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-32

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวไซนะ กอซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด