กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนัรกีส ยะปา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-08 เลขที่ข้อตกลง 15/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียน เป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก มีการคลุกคลีสัมผัสและทำกิจกรรมร่วมกัน ทำให้เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายและติดต่อระหว่างกันได้ง่ายเมื่อเด็กเจ็บป่วย เด็กวัยเรียน ได้แก่ เด็กที่มีอายุ 6-12 ปี เป็นช่วงอายุที่อยู่ระหว่างการพัฒนาทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์สังคม และด้านสติปัญญา เด็กยังมีภูมิต้านทานโรคต่างๆ จากการสร้างเสริมคุ้มกันโรค แต่วัยเด็กเจ็บป่วยและติดเชื้อได้ง่ายกว่าวัยอื่นๆ เนื่องจากความต้านทานโรคต่ำ โรคที่พบได้บ่อยในเด็ก ได้แก่ โรคที่เกิดจากการติดเชื้อของอวัยวะต่างๆในร่างกาย เช่น โรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ โรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร โรคติดต่อทางเชื้อไวรัส และโรคติดต่อทางผิวหนัง เป็นต้น การเจ็บป่วยในวัยนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก ถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่เริ่มป่วยอาจทำให้การเจ็บป่วยมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ และยังส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทำให้ชะงักหรือล่าช้า ดังนั้นการป้องกันควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการที่จะช่วยลดและแก้ไขปัญหาการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อที่พบได้บ่อยของเด็กวัยเรียนภายในโรงเรียนได้ จากรายงานข้อมูลการตรวจสุขภาพประจำปี 2565 ของเด็กนักเรียนในโรงเรียนเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกทั้ง 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล1-4 อ้างอิงข้อมูลจากกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก พบว่า ในปีพ.ศ.2565 ตั้งแต่วันที่ 8 - 11 สิงหาคม 2565 มีเด็กนักเรียนเป็นเหาจำนวน 166 ราย โรคไข้หวัดจำนวน 16 ราย โรคกลากเกลื้อนจำนวน 3 ราย และโรคอื่นๆจำนวน 3 ราย ปีพ.ศ.2564 ไม่มีรายงานเนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 และปีพ.ศ.2563 มีเด็กนักเรียนเป็นเหาจำนวน 185 ราย โรคไข้หวัดจำนวน 11 ราย โรคหิดจำนวน 15 รายโรคกลากเกลื้อนจำนวน 15 ราย และโรคอื่นๆจำนวน 38 ราย ซึ่งโรคติดต่อเหล่านี้ สามารถติดต่อกันได้จากการหายใจเอาละอองอากาศที่มีเชื้อปนอยู่เข้าไป การไอหรือจามรดกัน และการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกัน รวมทั้งการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเข้าไป หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกวิธีอาจทำให้เกิดการเรื้อรังและลุกลามได้ ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น ทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ เสียความมั่นใจในตนเอง และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไปได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขอนามัยของเด็กนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรค ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในโรงเรียน และได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัย รวมถึงเป็นการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพที่แข็งแรง และปลอดจากโรคต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ ในเด็กนักเรียนโรงเรียนเขตเทศบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในโรงเรียนแก่นักเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและมีการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคต่อในโรงเรียนมากขึ้น
  2. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อของเด็กนักเรียนในโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในโรงเรียนแก่นักเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
แกนนำนักเรียนโรงเรียนละ 25 คน ในเขตเทศบาล 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล 1-4 (ในช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6) จำนวน 100 คน
คณะทำงาน 10 คน
รายละเอียดกิจกรรม
ประชุมโรงเรียนทั้ง 4 โรงเรียนและคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
ประสานโรงเรียน ประสานวิทยากร และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดเตรียมเนื้อหาเอกสารการจัดอบรม และจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม
จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน และกิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของนักเรียนให้ปลอดโรค
พร้อมประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม
กำหนดการ ดังนี้
08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียน
08.46 - 09.00 น. เปิดโครงการ
09.01 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลตนเอง การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน ได้แก่ โรคหิด เหา และกลากเกลื้อน และโรคติดต่ออื่นๆ แก่นักเรียน และ
กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กนักเรียนให้ปลอดโรค วิทยากรโดยงานควบคุมโรค โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
งบประมาณ ดังนี้
ค่าวิทยากรบรรยาย  1,800 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  3,300 บาท
ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม  2,000 บาท
ค่าจัดโปสเตอร์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อ  1,500 บาท
ค่าป้ายโครงการ  1,200 บาท
งบประมาณ  9,800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกมากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
40.00 70.00

 

2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ ในเด็กนักเรียนโรงเรียนเขตเทศบาล
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยของเด็กนักเรียนในโรงเรียนเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกลดลงจากปีที่ผ่านมาไม่เกินร้อยละ 40
80.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ ในเด็กนักเรียนโรงเรียนเขตเทศบาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในโรงเรียนแก่นักเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อในโรงเรียน ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนัรกีส ยะปา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด