กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ทารกแฮปปี้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ประจำปี 2566 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว

ชื่อโครงการ โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ทารกแฮปปี้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-46 เลขที่ข้อตกลง 79/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2023 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ทารกแฮปปี้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ทารกแฮปปี้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ทารกแฮปปี้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L6961-1-46 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2023 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มารดาในระยะหลังคลอดมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม ซึ่งในช่วงแรกหลังคลอด มารดาอาจมีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ร้องไห้ไม่มีเหตุผล หงุดหงิด นอนไม่หลับเป็นผลให้เกิดความเครียดและความผิดปกติทางอารมณ์ ดังนั้น หากมารดามีความรู้หรือมีข้อมูลที่เพียงพอสำหรับการสังเกตตนเอง รวมทั้งวิธีการปฏิบัติตัวต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในระยะหลังคลอด เช่น การเปลี่ยนแปลงของเต้านม มดลูก น้ำคาวปลา แผลฝีเย็บ อาการเจ็บปวดไม่สุขสบายต่าง ๆ รวมไปถึงข้อมูลในการเลี้ยงดูบุตรจะช่วยให้มารดามีความมั่นใจและสามารถปรับตัวผ่านช่วงระยะเวลาหลังคลอดไปได้แต่ถ้าหากมารดาไม่สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม อาจส่งผลให้เกิดปัญหาทางจิตสังคมได้ รวมถึงการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างรากฐานที่ดีของชีวิต จึงเป็นเรื่องสำคัญที่เราไม่ควรมองข้ามเพราะนมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก ช่วยในการส่งเสริมการเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และจิตใจ เสริมสร้างภูมิต้านทานโรคให้แก่ทารกและลดการเจ็บป่วยในทารก และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังช่วยลดภาวะตกเลือดหลังคลอด ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ นอกจากนี้ยังช่วยประหยัดเงิน ประหยัดเวลาทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับสโลแกนขององค์กรพันธมิตรโลกเพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่กำหนดไว้สำหรับการรงค์ในสัปดาห์นมแม่โลก ประจำปี 2561 ว่านมแม่คือรากฐานที่สำคัญของชีวิต รวมทั้งแพทย์หญิงยุพยง กล่าวถึง ปัจจุบันคุณแม่วัยทำงานต่างให้ความสนใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มากขึ้น เนื่องจากหลายปัจจัย ในด้านเศรษฐกิจการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทำให้ครอบครัวมีค่าใช้จ่ายลดลง เด็ก 1 คนจะมีค่าใช้จ่ายในการกินนมผงอยู่ที่ 4,000 บาท ต่อเดือน แต่หากเด็กเปลี่ยนมากินนมแม่ แต่ละครอบครัวจะประหยัดได้ถึง 24,000 บาท ภายในเวลา 6 เดือน นอกจากนี้ ผลงานวิจัยจากในประเทศและต่างประเทศยังยืนยันว่า เด็กที่กินนมแม่จะมีสุขภาพที่ดี แข็งแรง เติบโตสมวัย และนมแม่ยังช่วยลดความเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ ส่งผลให้แม่ลาหยุดงานน้อยลงและแม่จะทำงานได้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นงานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นหนึ่งในงานการบริการสาธารณสุขที่ให้บริการกับประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มประชากรมารดาและทารก ซึ่งถือเป็นประชาชนกลุ่มหนึ่งที่สำคัญในการเริ่มต้นการดูแลสุขภาพ จึงมีความจำเป็นที่ต้องได้รับการดูแลจากบุคลากรสาธารณสุขฯตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ถึงวิธีการแปฏิบัติตนที่ถูกต้องรวมถึงตั้งแต่การฝากครรภ์จนถึงระยะหลังคลอดให้ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ทั้งนี้มารดาหลังคลอดที่ออกจากโรงพยาบาล ส่วนใหญ่ยังไม่ประสบผลสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เกิดจากการขาดความตระหนัก ความรู้ และทักษะในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ซึ่งการเยี่ยมบ้านเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน รวมถึงสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้เล็งเห็นความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จึงมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกให้มีร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์และการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกให้รู้สึกอบอุ่นอารมณ์ดีผ่อนคลาย และปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและลูกได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ
  3. เพื่อให้มารดาหลังคลอด มีขวัญกำลังใจ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเยี่ยมมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มารดาหลังคลอดมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและลูกได้ถูกต้อง
  2. มารดาและทารกได้รับบริการมาตรฐานมีคุณภาพ
  3. มารดาหลังคลอด มีขวัญกำลังใจ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและลูกได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของมารดามีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและลูกได้ถูกต้อง
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของมารดาและทารกได้รับบริการตามมาตฐานวิชาชีพ
80.00 100.00

 

3 เพื่อให้มารดาหลังคลอด มีขวัญกำลังใจ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มารดาหลังคลอด มีขวัญกำลังใจ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและลูกได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้มารดาและทารกได้รับบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ (3) เพื่อให้มารดาหลังคลอด มีขวัญกำลังใจ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเยี่ยมมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดี ทารกแฮปปี้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L6961-1-46

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด