กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด


“ โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน ”

เขตเทศบาลตำบลตะโหมด

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลตะโหมด

ชื่อโครงการ โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ที่อยู่ เขตเทศบาลตำบลตะโหมด จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L7577-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตเทศบาลตำบลตะโหมด

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน " ดำเนินการในพื้นที่ เขตเทศบาลตำบลตะโหมด รหัสโครงการ 66-L7577-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,104.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นับตั้งแต่อดีตมาสู่ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานและนับวันยิ่งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน ชุมชนจัดเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม แม้ว่าขยะจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตราย เมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือการเกษตรกรรม แต่ก็ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะขยะมูลฝอยจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือน ขยะที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (recycle) ขยะประเภทวัสดุเหลือใช้ ขยะที่อาจเป็นอันตรายอันเนื่องมาจากสารพิษ โรคทางเดินหายใจ สารพิษปนเปื้อนในแหล่งน้ำ เป็นต้น องค์ประกอบขยะมูลฝอยประกอบด้วย ขยะทั่วไป (ร้อยละ 3)ขยะรีไซเคิล (ร้อบละ 30)ขยะอันตราย (ร้อยละ 3) และขยะอินทรีย์ (ร้อยละ64) ซึ่งขยะอินทรีย์มีปริมาณมากที่สุดและเป็นขยะที่สามารถย่อยสลายได้ดังนั้นการลดปริมาณขยะจำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมือจากครัวเรือนในการคัดแยกขยะจากต้นทางเพื่อลดปริมาณขยะที่จะนำเข้าสู่ระบบกำจัดโดยส่งเสริมให้ประชาชนมีองค์ความรู้ในการคัดแยกขยะจากต้นทางด้วยหลัก 3RS (Reduce Reuse Recycle) กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลตะโหมด ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในปัญหาขยะ ซึ่งส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อคนในชุมชน และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความรู้และตระหนักในการจัดการขยะจากครัวเรือน จึงได้จัด “โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณขยะในระดับครัวเรือน และบูรณาการรักษาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
  2. เพื่อขับเคลื่อนและลดปริมาณขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
  3. เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ลดแหล่งเพาะพันธุ์โรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการขยะมูลฝอย
  2. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ
  3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์
  4. เคาะประตูบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครัวเรือนในเขตเทศบาลตำบลตะโหมด 400

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ และมีจิตสำนึกและตระหนักถึง ความสำคัญในการลดปริมาณและคัดแยกขยะ
  2. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs การนำ กลับมาใช้ใหม่ วิธีการกำจัดขยะประเภทต่าง ๆ อย่างถูกวิธี และสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดผลได้จริง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการขยะมูลฝอย

วันที่ 1 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการขยะมูลฝอยในหมู่บ้าน/ชุมชนและประชุมหาแนวทางการปฏิบัติในชุมชน/จัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
- มีคณะกรรมการขยะมูลฝอยในหมู่บ้าน/ชุมชน ผลลัพธ์ - ครัวเรือนในหมู่บ้าน/ชุมชนมีแนวทางปฏิบัติในการจัดการขยะมูลฝอยเป็นแนวทางเดียวกัน

 

40 0

2. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ

วันที่ 24 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดอบรมให้ความรู้การจัดการขยะในครัวเรือนและการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนให้แก่ตัวแกนนำ ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม) และมอบถังขยะเปียกลดโลกร้อนแก่ครัวเรือนต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
- แกนนำมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและสามารถนำไปถ่ายทอดให้แก่ครัวเรือนใกล้เคียงและครัวเรือนที่รับผิดชอบได้ ผลลัพธ์ - มีเครือข่ายการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน สามารถลดปริมาณขยะและจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

 

0 0

3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ด้วยหลัก 3RS และการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
- ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน ด้วยหลัก 3RS และการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน ผลลัพธ์ - ประชาชนมีความรู้ สามารถจัดการขยะมูลฝอยถูกวิธี สามารถลดปริมาณขยะในครัวเรือน และสามารถนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ลดค่าใช้จ่าย

 

0 0

4. เคาะประตูบ้าน

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ขอความร่วมมือครัวเรือนในเขตรับผิดชอบจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน โดยประสานอาสาสมัครสาธารณสุขให้สำรวจครัวเรือนในความรับผิดชอบและแจ้งความประสงค์ขอรับถังขยะเปียกลดโลกร้อน เพื่อเป็นครัวเรือนต้นแบบ
  • จัดให่พนักงานลงพื้นที่ช่วยเหลือครัวเรือนที่ไม่สามารถดำเนินจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนได้ด้วยตนเอง
  • ลงพื้นที่ทวนสอบครัวเรือนที่จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
- มีครัวเรือนต้นแบบในการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน
ผลลัพธ์
- ขยะอินทรีย์ได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธี

 

400 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณขยะในระดับครัวเรือน และบูรณาการรักษาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ
400.00 400.00

ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะจากต้นทาง

2 เพื่อขับเคลื่อนและลดปริมาณขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการและจัดทำภังขยะเปียกลดโลกร้อน
400.00 400.00

ครัวเรือนสมัครเข้าร่วมการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

3 เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ลดแหล่งเพาะพันธุ์โรค
ตัวชี้วัด : บ้านเรือนมีความสะอาด ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์โรค
400.00 400.00

บ้านเรือนสะอาด ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์โรค

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครัวเรือนในเขตเทศบาลตำบลตะโหมด 400

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณขยะในระดับครัวเรือน และบูรณาการรักษาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี (2) เพื่อขับเคลื่อนและลดปริมาณขยะอินทรีย์ในครัวเรือน (3) เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ลดแหล่งเพาะพันธุ์โรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการขยะมูลฝอย (2) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ (3) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (4) เคาะประตูบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน

รหัสโครงการ 66-L7577-1-1 รหัสสัญญา 1/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถคัดแยกขยะด้วยหลัก 3RS

จากการเข้าร่วมกิจกรรม

ควรส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมในการจัดการขยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

นวัตกรรมการกำจัดขยะเปียก

มีนวัตกรรมถังขยะเปียกลดโลกร้อน

สนับสนุนให้ทุกครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

มีกระบวนการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

ถังขยะเปียกที่ใช้กำจัดขยะอินทรีย์

สนับสนุนแนวทางการกำจัดขยะในครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีแนวทางการจัดการขยะด้วยตนเอง

การจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ควรสนับสนุนการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนทุกครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีครัวเรือนต้นแบบหรือชุมชนต้นแบบในการจัดการขยะด้วยถังขยะเปียกลดโลกร้อนในเขตเทศบาลตำบลตะโหมด

ครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรม

ควรเพิ่มจำนวนครัวเรือนในเขตเทศบาลตำบลตะโหมดที่เข้าร่วมจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนให้เพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกิดครัวเรือนแบบอย่างเพื่อเป้นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนขหรือครัวเรือนข้างเคียง

มีครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะมูลฝอย

ควรส่งเสริมให้มีครัวเรือนต้นแบบเพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้บ้านเรือนสะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์โรค

เกิดครัวเรือนต้นแบบในการดูแลสภาพแวดล้อม

ควรส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพเพิ่มเติมให้ครอบคลุมทุกด้านทั้งสภาพแวดล้อม การจัดการขยะและการส่งเสริมสุขภาพทางกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม /นำขยะมาใช้แทนปุ๋ยเคมีในการปลูกผักไว้รับประทานสำหรับครัวเรือน

การใช้ปุ๋ยจากถังขยะเปียกลดโลกร้อนในการเกษตร การขุดถังไว้บริเวณแปลงผักหรือต้นไม้

ควรส่งเสริมสนับสนุนให้นำปุ๋ยที่ได้มาใช้แทนปุ๋ยเคมีเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มีการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนเพื่อลดปริมาณขยะจากต้นทาง

ครัวเรือนที่เข้ากิจกรรมจัดทำ ถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ควรสนับสนุนให้ครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนให้คลอบคลุมทุกครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การใช้ปุ๋ยที่ได้จากการนำขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์แทนการใช้สารเคมี

การใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อน

ควรส่งเสริม ขยายการทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนให้คลอบคลุมเต็มพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

สามารถสร้างรายได้จากการเกษตรพืช ผักปลอดสารพิษ

จากการปลูกพืชปลอดสารเคมีในชุมชน

ควรขยายกลุ่มปลูกพืชปลอดสารพิษเพิ่ม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีครัวเรือนจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนเพื่อกำจัดขยะอินทรีย์

บันทึกข้อตกลงร่วมกันในการจัดการขยะ

ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมกันทุกภาคส่วนเพื่อจัดการขยะมูลฝอย

บันทึกข้อตกลงร่วมกันในการจัดการขยะ

ควรดำเนินกิจกรรมตามบันทึกข้อตกลง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการดำเนินการจัดการขยะในครัวเรือนต้นแบบและครัวเรือนข้างเคียง

เกิดครัวเรือน/ชุมชนต้นแบบ

ควรส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน

การประชุมหมู่บ้าน/คณะกรรมการชุมชน

ควรนำเสนอแนวทางการแก้ไขร่วมกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ครัวเรือนสามารถลดค่าใช้จ่ายจากการซื้อปุ๋ยเคมี

-การเกษตรที่ใช้ปุ๋ยจากถังขยะเปียกลดโลกร้อน -การนำขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์

ควรส่งเสริมสนับสนุนการนำขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L7577-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลตะโหมด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด