กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ปีที่ ๒ (ปี 2561) ”

ตำบลสะบารังและอาเนาะรู อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางนงนุช ช่อพันธ์กุล

ชื่อโครงการ โครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ปีที่ ๒ (ปี 2561)

ที่อยู่ ตำบลสะบารังและอาเนาะรู อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 18 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ปีที่ ๒ (ปี 2561) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารังและอาเนาะรู อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ปีที่ ๒ (ปี 2561)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ปีที่ ๒ (ปี 2561) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารังและอาเนาะรู อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 18 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 270,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การอนามัยแม่และเด็ก เป็นรากฐานของการพัฒนางานสาธารณสุขของประเทศและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะมารดาซึ่งเป็นผู้ให้กำเนิดบุตรการที่จะให้เด็กเกิดมามีชีวิตรอดปลอดภัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดเป็นพลเมืองดีและเยาวชนที่ดีของชาติย่อมขึ้นอยู่กับมารดาที่ต้องวางรากฐานให้เด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์และเป็นแม่ที่ดีมีคุณภาพ จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กในตำบลสะบารังและอาเนาะรู จังหวัดปัตตานีวิเคราะห์ข้อมูลความครอบคลุมของการอนามัยแม่และเด็กในปีที่ผ่านมา255๘๒๕๕๙และ๒๕๖๐ พบว่าฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ ๖๓.96 ๖4.96 และ๗๓.๓๕ ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ๕8.1060.49 และ๖๓.๖๕ ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 9.198.15และ 5.๐๕ ตั้งครรภ์วัยรุ่น (อายุ15-19 ปี) ร้อยละ7.808.64 และ6.20 ภาวะซีดหลังคลอดร้อยละ 9.869.24 และ 5.84 วิเคราะห์ข้อมูลในปี2560 จากหญิงหลังคลอดในเขตรับผิดชอบ272 รายเกิดภาวะแทรกซ้อนเช่นภาวะครรภ์เป็นพิษร้อยละ3.57เบาหวานขณะตั้งครรภ์ร้อยละ 2.17 ตกเลือดหลังคลอดร้อยละ 0.36ไทรอยด์ร้อยละ0.72 คลอดก่อนกำหนดร้อยละ 2.89 ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดร้อยละ 1.44 ทำให้งานอนามัยแม่และเด็กยังมีปัญหาที่ต้องแก้ไข ซึงปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเกิดกับมารดาที่มาฝากครรภ์ล่าช้าทำให้ไม่ทราบการปฏิบัติตัวที่สามารถป้องกันปัญหาเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เนื่องจากมารดามีพฤติกรรมแบบเดิมๆและอายที่จะมาฝากครรภ์ไม่ตระหนกและเห็นความสำคัญ โดยเฉพาะในมารดาที่เป็นวัยรุ่นประกอบกับมารดาขาดความรู้ความเข้าใจ และขาดประสบการณ์เกี่ยวกับการดูแลในเรื่องต่างๆ ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาและภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้ทันเวลาการดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ และหลังคลอดรวมถึงการเลี้ยงดูทารกที่มีคุณภาพจึงจำเป็นต้องเร่งรัดพัฒนากลยุทธการอนามัยแม่และเด็ก เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์และการคลอดที่ปลอดภัย

กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานีได้จัดทำโครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ ในปี 2560 ทำให้มีการพัฒนางานแม่และเด็กมีผลงานที่ดีขึ้นอย่างชัดเจนทำให้มีการคลอดที่ปลอดภัยแต่ยังมีหญิงตั้งครรภ์/หญิงหลังคลอดจำนวนไม่น้อยที่ต้องได้รับกระตุ้นและให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวการดูแลตัวเองระหว่างการตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆอันจะส่งผลให้เด็กที่คลอดออกมามีคุณภาพจึงได้จัดทำโครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ปีที่ 2 ประจำปีงบประมาณ ปี๒๕๖๑เพื่อนำไปสู่การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนกระตุ้นให้มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์เพื่อเตรียมพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้องลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดเช่นภาวะพิษแห่งครรภ์ในระหว่างการตั้งครรภ์ ลดอัตราตายของมารดาและทารก
  2. 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ให้ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและให้ความสำคัญต่อการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ , ฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง คลอดที่โรงพยาบาล และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
  3. 3.เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุม คืนข้อมูลงานนามัยแม่และเด็ก วิเคราะห์และร่วมกันวางแผนพัฒนา
  2. จัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ฟื้นฟูความรู้ในเรื่องการอนามัยแม่และเด็ก แก่ แกนนำชุมชน
  3. สำรวจ ค้นหาหญิงวัยเจริญพันธ์(15-44 ปี) คู่สมรสใหม่และหญิงตั้งครรภ์สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2 ครั้ง/ปี ไตรมาสที่1และ3 นำเสนอผลงานการอนามัยแม่และเด็ก และทำ work shopตรวจการตั้งครรภ์ในชุมชน
  4. จัดทีมเยี่ยมบ้านให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ซีดและหลังคลอดถึงการปฏิบัติตัวและการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่
  5. 4 :รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เคาะประตู แจกใบปลิว การฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ทุก ๓ เดือนบริการตรวจการตั้งครรภ์โดยใช้ urine preg test และนำส่งหญิงตั้งครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
  6. จัดประกวดชุมชนนำส่งหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ดีเด่น พิจารณาตามเกณฑ์
  7. ประเมินผลงานอนามัยแม่และเด็กตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข และจัดทำข้อเสนอแนะ สำหรับ การวางแผนงานและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 605
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 70
    1. หญิงตั้งครรภ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและให้ความสำคัญต่อการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ , ฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้งมากกว่าร้อยละ 65 ๓.ทารกน.น. < ๒๕๐๐ กรัมน้อยกว่าร้อยละ๗ ๔.มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนมากกว่าร้อยละ ๕๐ ๕.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน20 ต่อเกิดมีชีพแสนคน ๖.อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)< 50/พันคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนกระตุ้นให้มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์เพื่อเตรียมพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้องลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดเช่นภาวะพิษแห่งครรภ์ในระหว่างการตั้งครรภ์ ลดอัตราตายของมารดาและทารก
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์มากกว่าร้อยละ ๗๐
0.00

 

2 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ให้ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและให้ความสำคัญต่อการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ , ฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง คลอดที่โรงพยาบาล และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ครบ5ครั้งตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60
0.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)
ตัวชี้วัด : อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)< 50/พันคน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 705
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 605
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนกระตุ้นให้มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์เพื่อเตรียมพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้องลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดเช่นภาวะพิษแห่งครรภ์ในระหว่างการตั้งครรภ์ ลดอัตราตายของมารดาและทารก (2) 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ให้ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและให้ความสำคัญต่อการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์  ,  ฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง  คลอดที่โรงพยาบาล และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน (3) 3.เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(อายุ15-19 ปี)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุม  คืนข้อมูลงานนามัยแม่และเด็ก  วิเคราะห์และร่วมกันวางแผนพัฒนา (2) จัดทำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ฟื้นฟูความรู้ในเรื่องการอนามัยแม่และเด็ก แก่ แกนนำชุมชน  (3) สำรวจ ค้นหาหญิงวัยเจริญพันธ์(15-44 ปี) คู่สมรสใหม่และหญิงตั้งครรภ์สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2 ครั้ง/ปี ไตรมาสที่1และ3 นำเสนอผลงานการอนามัยแม่และเด็ก และทำ work shopตรวจการตั้งครรภ์ในชุมชน        (4) จัดทีมเยี่ยมบ้านให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ซีดและหลังคลอดถึงการปฏิบัติตัวและการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ (5) 4 :รณรงค์  ประชาสัมพันธ์  เคาะประตู แจกใบปลิว การฝากครรภ์ก่อน 12  สัปดาห์    และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ทุก ๓ เดือนบริการตรวจการตั้งครรภ์โดยใช้ urine preg test  และนำส่งหญิงตั้งครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ (6)  จัดประกวดชุมชนนำส่งหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ดีเด่น พิจารณาตามเกณฑ์  (7) ประเมินผลงานอนามัยแม่และเด็กตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข และจัดทำข้อเสนอแนะ สำหรับ  การวางแผนงานและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเคาะประตูชวนแม่น้องหนูไปฝากครรภ์ปีที่ ๒ (ปี 2561) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนงนุช ช่อพันธ์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด