กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ


“ โครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566 ”

รพ.ส ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮามีดะห์ ตวันตีมุง

ชื่อโครงการ โครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566

ที่อยู่ รพ.ส ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2497-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.ส ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.ส ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2497-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติที่กำหนดสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนประชากร ซึ่งจะเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete - Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 20 และเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super - Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 28 ตามลำดับ พบว่า ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี การคัดกรองผู้สูงอายุจำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของรพ.สต.ตะปอเยาะ ปี2565 พบว่า ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ร้อยละ 93.65 , 94.21 และ 96.25 ผลจากการคัดกรองฯ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มติดสังคม ร้อยละ 97.15, 94.21 และ 97.26 รองลงมาเป็นผู้สูงอายุติดบ้าน ร้อยละ 2.24,3.70 และ 1.17 และกลุ่มติดเตียงพบร้อยละ0.61,0.42 และ 0.58ภารกิจหลักในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุในทุกระดับ บนฐานข้อมูลและองค์ความรู้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย (GOAL) “ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” พร้อมทั้งสนับสนุนให้ผู้สูงอายุที่และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลบริการด้านสาธารณสุขถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่อง โดยการอบรมพัฒนาทักษะผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และนักอาสาบริบาลในชุมชน จิตอาสาในชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้บรรลุเป้าหมาย แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ทางรพ.สต.ตะปอเยาะได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพในชุมชนอย่างทั่วถึงเท่าเทียม เสริมสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุไทยมีสุขภาวะที่ดีในปัจจุบันและอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุติดสังคมเรื่อง การดูแลสุขภาพที่จำเป็นการทานอาหารเป็นยา ไม่หลง ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า ทานข้าวอร่อย
  2. กิจกรรมที่2ประชุมชี้แจงแผนการดำเนินงาน ชมรมผู้สูงอายุแก่คณะทำงาน
  3. กิจกรรมที่3จัดกิจกรรมพร้อมให้ความรู้ตรวจสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรม 4 จัดอบรมให้ความรู้กับญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 149
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพตามเกณท์ ๒.ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและใจ 3.มีการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ สังคม และสวัสดิการ 4.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี 5.เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม 4 จัดอบรมให้ความรู้กับญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

วันที่ 26 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ความรู้กับญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ญาติ ผู้ดูแล และเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสร้างช่องทางด่วนการตืดต่อทางไลน์HHC รพ.สต.ตะปอเยาะ ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและได้รับการช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว

 

0 0

2. 1จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุติดสังคมเรื่อง การดูแลสุขภาพที่จำเป็นการทานอาหารเป็นยา ไม่หลง ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า ทานข้าวอร่อย

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 ด้าน และการบันทึกข้อมูลของ อสม.ผ่าน Application Blue book
  • จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุติดสังคมเรื่อง การดูแลสุขภาพที่จำเป็นการทานอาหารเป็นยา ไม่หลง ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า ทานข้าวอร่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อสม.มีความรู้เรื่องการคัดกรองและสามารถบันทึกผลการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุคัดกรองสุขภาพ 10 ด้าน ผ่าน Application Blue book  ร้อยละ 95
  • เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสร้างช่องทางด่วนการตืดต่อทางไลน์HHC รพ.สต.ตะปอเยาะ ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและได้รับการช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว

 

0 0

3. กิจกรรมที่2ประชุมชี้แจงแผนการดำเนินงาน ชมรมผู้สูงอายุแก่คณะทำงาน

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการและจัดทำคำสั่งการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ 2 ชมรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพกาย ใจ  สังคม และสวัสดิการ

 

0 0

4. กิจกรรมที่3จัดกิจกรรมพร้อมให้ความรู้ตรวจสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมพร้อมให้ความรู้ตรวจสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุและคัดกรองผู้สูงอายุที่ไม่มีฟันให้มาทำฟันปลอมจำนวน 25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุ ได้รับตรวจสุขภาพช่องปาก และคัดกรองผู้สูงอายุที่ไม่มีฟันเพื่อให้ผูสูงอายุมีฟันปลอมในการใช้งานในชีวิตประจำวัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ50 ของชมรมผู้สูงอายุมีการวางแผน well ness plan
20.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 249
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 149
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพกายและใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุติดสังคมเรื่อง การดูแลสุขภาพที่จำเป็นการทานอาหารเป็นยา ไม่หลง ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า ทานข้าวอร่อย (2) กิจกรรมที่2ประชุมชี้แจงแผนการดำเนินงาน ชมรมผู้สูงอายุแก่คณะทำงาน (3) กิจกรรมที่3จัดกิจกรรมพร้อมให้ความรู้ตรวจสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ (4) กิจกรรม 4 จัดอบรมให้ความรู้กับญาติหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุในการดูแลผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลและห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส)และผู้มีภาวะพึงพิงและการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2497-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮามีดะห์ ตวันตีมุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด