กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา


“ โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการ ”

ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายกฤตภาส ปฐมนุพงษ์

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการ

ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาศัยอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติมาตรา 50 (4) ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ ประเทศไทย ได้รับผลกระทบจากการติดเชื้อเอชไอวีโดยเริ่มจากผู้ติดยาเสพติดที่ใช้เข็มฉีดยาร่วมกันตามด้วยหญิงบริการจนเข้าสู่ระบบครอบครัว การติดเชื้อเอชไอวีมุ่งไปที่หญิง-ชายวัยเจริญพันธุ์และเด็กจากการที่มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีในเด็กจากแม่สู่ลูกรายแรกจึงเริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2531
เมื่อประเมินช่องว่างของการดำเนินงานการให้บริการช่วยเหลือเด็กดังกล่าวพบว่า มีส่วนขาดในหลายๆ ด้าน เช่น ด้านสาธารณสุข พบว่า การติดตามเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี เพื่อรับการดูแลรักษาที่เหมาะสมยังไม่ครอบคลุม ยังขาดการช่วยเหลือด้านจิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อเติมเต็มให้การดูแลรักษาทางคลินิกมีประสิทธิภาพดีขึ้นทางด้านสังคม ระบบการช่วยเหลือและปกป้องคุ้มครองเด็กยังขาดการป้องกันในเรื่องของเอชไอวี แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการให้ความรู้และสร้างความเข้าไปในชุมชน แต่ศักยภาพของชุมชนยังไม่ให้ความสำคัญกับการดูแลเด็กเหล่านี้ ปัญหาการถูกตีตรา รังเกียจ และเลือกปฏิบัติที่ยังมีอยู่ทำให้เด็กไม่สามารถเข้าถึงบริการที่สำคัญคือ ข้อมูลเกี่ยวกับเด็กได้รับผลกระทบที่ยังไม่มีการบันทึกอย่างเป็นระบบ ทั้งประเทศรวมถึงพื้นที่ในเขต 12 ทำให้การดูแล และสนับสนุนไม่สามารถเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลยะหา ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงการเพิ่มความครอบคลุมการเข้าถึงบริการดูแลรักษาแบบองค์รวมที่จำเป็นและเหมาะสมกับเด็กตามกลุ่มอายุรวมการบริการที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่การป้องกันการดูแลช่วยเหลือด้านอารมณ์สังคม การรักษาที่เน้นที่ตัวเด็กเป็นศูนย์กลาง และเด็กที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงอื่นๆ ในชุมชนที่มีสถานการณ์เอดส์สูง และการดำเนินงานดังกล่าวจะสำเร็จได้ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอยะหา และศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเมืองยะหา ให้สอดคล้องกับแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วนและมีประสิทธิผลแก่เด็กและเยาวชน ที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้ใช้ สารเสพติด และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายผู้ใช้สารเสพติด และ เด็กในการประกอบพฤติกรรมทางเพศ ที่มีสุขภาวะ และการใช้บริการด้านการป้องกัน 3 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพ บริการทางสังคมที่ตอบสนองต่อประเด็นเพศภาวะ เพศวิถี และเท่าเทียมกัน โดยการพัฒนาให้เกิดการเชื่อมประสานการจัดบริการที่ครบถ้วน และต่อเนื่อง กับระบบบริการสุขภาพทางเพศ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่ 4 เพื่อผลักดันให้มีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และท้องถิ่น โดยผ่านกลไกประสานงานอำเภอ โดยผสมผสานกลมกลืนไปกับระบบบริการสุขภาพ ชุมชน และการปกป้องคุ้มครองทางสังคม ที่สอดคล้องรองรับกับกระบวนการกระจายอำนาจของประเทศ 5 เพื่อจัดบริการดูแลรักษาและสนับสนุนการบริการ รวมถึงให้ยาต้านไวรัสเอดส์แก่กลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าไม่ถึงบริการตามสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติถ้วนหน้า 6 เพื่อพัฒนาระบบข้อมูล ข้อสนเทศ เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ปรับปรุงนโยบายและการดำเนินงาน เอชไอวี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 นักเรียนนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน 2 นักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ 3 นักเรียนนักศึกษารู้จักวิธีในการหลีกเลี่ยงยาเสพติดและเอดส์ 4 นักเรียนนักศึกษามีความกล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้องมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วนและมีประสิทธิผลแก่เด็กและเยาวชน ที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้ใช้ สารเสพติด และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายผู้ใช้สารเสพติด และ เด็กในการประกอบพฤติกรรมทางเพศ ที่มีสุขภาวะ และการใช้บริการด้านการป้องกัน 3 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพ บริการทางสังคมที่ตอบสนองต่อประเด็นเพศภาวะ เพศวิถี และเท่าเทียมกัน โดยการพัฒนาให้เกิดการเชื่อมประสานการจัดบริการที่ครบถ้วน และต่อเนื่อง กับระบบบริการสุขภาพทางเพศ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่ 4 เพื่อผลักดันให้มีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และท้องถิ่น โดยผ่านกลไกประสานงานอำเภอ โดยผสมผสานกลมกลืนไปกับระบบบริการสุขภาพ ชุมชน และการปกป้องคุ้มครองทางสังคม ที่สอดคล้องรองรับกับกระบวนการกระจายอำนาจของประเทศ 5 เพื่อจัดบริการดูแลรักษาและสนับสนุนการบริการ รวมถึงให้ยาต้านไวรัสเอดส์แก่กลุ่มเป้าหมาย ที่เข้าไม่ถึงบริการตามสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติถ้วนหน้า 6 เพื่อพัฒนาระบบข้อมูล ข้อสนเทศ เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ปรับปรุงนโยบายและการดำเนินงาน เอชไอวี
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วนและมีประสิทธิผลแก่เด็กและเยาวชน  ที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้ใช้                  สารเสพติด และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายผู้ใช้สารเสพติด และ        เด็กในการประกอบพฤติกรรมทางเพศ ที่มีสุขภาวะ และการใช้บริการด้านการป้องกัน 3  เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพ บริการทางสังคมที่ตอบสนองต่อประเด็นเพศภาวะ เพศวิถี        และเท่าเทียมกัน โดยการพัฒนาให้เกิดการเชื่อมประสานการจัดบริการที่ครบถ้วน และต่อเนื่อง        กับระบบบริการสุขภาพทางเพศ และการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่ 4 เพื่อผลักดันให้มีนโยบายทั้งในระดับประเทศ และท้องถิ่น โดยผ่านกลไกประสานงานอำเภอ        โดยผสมผสานกลมกลืนไปกับระบบบริการสุขภาพ ชุมชน และการปกป้องคุ้มครองทางสังคม      ที่สอดคล้องรองรับกับกระบวนการกระจายอำนาจของประเทศ 5 เพื่อจัดบริการดูแลรักษาและสนับสนุนการบริการ รวมถึงให้ยาต้านไวรัสเอดส์แก่กลุ่มเป้าหมาย      ที่เข้าไม่ถึงบริการตามสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติถ้วนหน้า 6 เพื่อพัฒนาระบบข้อมูล ข้อสนเทศ เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ปรับปรุงนโยบายและการดำเนินงาน      เอชไอวี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์เชิงปฏิบัติการ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายกฤตภาส ปฐมนุพงษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด