กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการ เด็กไทยฟันดี ชีวีมีสุขทุกช่วงวัย ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซูรา มาหามะ

ชื่อโครงการ โครงการ เด็กไทยฟันดี ชีวีมีสุขทุกช่วงวัย

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2535-01-7 เลขที่ข้อตกลง 6/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เด็กไทยฟันดี ชีวีมีสุขทุกช่วงวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เด็กไทยฟันดี ชีวีมีสุขทุกช่วงวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เด็กไทยฟันดี ชีวีมีสุขทุกช่วงวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2535-01-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,162.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากควรเริ่มตั้งแต่เด็กที่มีฟันน้ำนมซี่แรก เพราะฟันน้ำนมถือเป็นฟันชุดแรกที่มีขึ้นในช่องปาก หากดูแลรักษาดี ไม่ให้ถูกถอนหรือหลุดก่อนวัยอันควร ก็จะสามารถดูแลชุดฟันแท้ที่ขึ้นตามมาในอนาคตได้ โดยจากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าเด็กอายุ 6-12 ปี มีประสบการณ์โรคฟันผุ ร้อยละ 78.9 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด ๑.7 ซี่/คน โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลให้เด็กมีสภาวะฟันผุเกิดจากพฤติกรรมการชอบบริโภคอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลในปริมาณที่ไม่เหมาะสม เด็กส่วนใหญ่ชอบบริโภคขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ น้ำหวานรวมไปถึงเครื่องดื่มน้ำอัดลม ซึ่งมีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบหลักที่ส่งผลทำให้เกิดโรคฟันผุ นอกจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมแล้วพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้องยังเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลทำให้เกิดโรคฟันผุอีกด้วย จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา พ.ศ. ๒๕๖๕ สำรวจพฤติกรรมการแปรงฟันของเด็ก พบว่า เด็กอายุ 6-๑๒ ปี ร้อยละ 82.๕ แปรงฟันหลังตื่นนอนตอนเช้าทุกวัน ส่วนการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันพบว่าเด็กอายุ 6-๑๒ ปี ร้อยละ 16.๓ ที่แปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียนทุกวัน ร้อยละ ๓2.5 แปรงบางวัน และร้อยละ ๕1.2 ตอบว่าไม่เคยแปรงเลย จากสถานการณ์ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า เด็กมีการแปรงฟันหลังมื้ออาหารกลางวันที่น้อย รวมทั้งจากการสำรวจเด็กอายุ 2-3 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 358 คน พบว่ามีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 79.8 ซึ่งถือว่ายังเป็นปัญหาที่สำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนเช่นกัน
จากปัญหาดังกล่าวทางกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกวาลอซีรา จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 2-3 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กอายุ 6-12 ปีในเด็กวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการ เด็กไทยฟันดี ชีวีมีสุขทุก ช่วงวัย เพื่อให้เด็กมีความรู้และเกิดความเคยชินในการดูแลสุขภาพช่องปาก รวมถึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้โรงเรียนมีแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ
  2. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนทุกแห่งในพื้นที่รับผิดชอบ มีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก และสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่าถูกวิธีและสะอาด
  4. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 2-3 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมนักเรียนในการดูแลสุขภาพช่องปากในโรงเรียน จำนวน 2 โรง ๆ ละ 1 วัน และอบรมผู้ปกครองจำนวน 3 ศูนย์ๆ ละ 1 วัน รวม 5 วัน
  2. จัดอบรมการส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 ศูนย์ๆ ละ 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 282
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. โรงเรียนมีแกนนำทันตสุขภาพ
  2. นักเรียนชั้นประถมศึกษามีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
  3. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 6-12 ปีลดลง
  4. ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก และสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่าถูกวิธีและสะอาด
  5. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 2-3 ปีลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมนักเรียนในการดูแลสุขภาพช่องปากในโรงเรียน จำนวน 2 โรง ๆ ละ 1 วัน และอบรมผู้ปกครองจำนวน 3 ศูนย์ๆ ละ 1 วัน รวม 5 วัน

วันที่ 8 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑.ขั้นเตรียมการ ๑.๑ ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำโครงการ ๑.๒ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ ๑.3 จัดเตรียมหลักสูตรในการจัดอบรม ๑.4 เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูล และเอกสารในการดำเนินกิจกรรม 1.5 ดำเนินการจัดอบรมตามโครงการ 1.6 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

๒.ขั้นดำเนินการ ๒.๑ กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง ปัญหาโรคฟันผุ และเฝ้าระวังติดตามสุขภาพอนามัยช่องปากเด็กนักเรียน “หมอฟันในโรงเรียน” และสาธิตฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน ๒.๑.๑ ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับกับโรคฟันผุ ประกอบด้วยเรื่อง โรคฟันผุ อาหารกับโรคฟันผุ และการแปรงฟันที่ถูกวิธี
๒.๑.๒ พัฒนาทักษะการตรวจฟันและการแปรงฟันที่ถูกวิธี ดังนี้ 2.1.3 ให้ความรู้เรื่องการแปรงฟันแบบถูไปถูมา (Horizontal scrub technique) พร้อมทั้งฝึกการทำแบบบันทึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี
2.1.4  ประกวดหนูน้อยฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2566 ๒.1.5 กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ในแต่ละโรงเรียน เพื่อให้เด็กทุกคนสามารถแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียน    ทุกวัน 2.1.6 ประเมินการแปรงฟันของนักเรียน “หมอฟันในโรงเรียน” ประเมิน 4 ครั้งต่อปี พร้อมบันทึกการประเมินผล 2.2 กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมการส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒.3.๑ อบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองและครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับปัญหาโรคฟันผุในเด็ก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ๒.3.๒ ฝึกทักษะผู้ปกครองและครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการแปรงฟันแบบถูไปถูมา (Horizontal scrub technique) 2.3.3 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 2-3 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.3.4 ทาฟลูออไรด์วานิชในคลินิกสุขภาพเด็กดีและในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. โรงเรียนมีแกนนำทันตสุขภาพ
  2. นักเรียนชั้นประถมศึกษามีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
  3. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 6-12 ปีลดลง
  4. ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก และสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่าถูกวิธีและสะอาด
  5. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 2-3 ปีลดลง

 

0 0

2. จัดอบรมการส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 ศูนย์ๆ ละ 1 วัน

วันที่ 10 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

2.2 กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมการส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒.3.๑ อบรมให้ความรู้ ผู้ปกครองและครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับปัญหาโรคฟันผุในเด็ก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ๒.3.๒ ฝึกทักษะผู้ปกครองและครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการแปรงฟันแบบถูไปถูมา (Horizontal scrub technique) 2.3.3 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 2-3 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.3.4 ทาฟลูออไรด์วานิชในคลินิกสุขภาพเด็กดีและในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก และสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่าถูกวิธีและสะอาด 2. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 2-3 ปีลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้โรงเรียนมีแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนทุกแห่งในพื้นที่รับผิดชอบ มีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก และสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่าถูกวิธีและสะอาด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 2-3 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 282
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 282
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้โรงเรียนมีแกนนำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ (2) เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนทุกแห่งในพื้นที่รับผิดชอบ มีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก และสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่าถูกวิธีและสะอาด (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 2-3 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมนักเรียนในการดูแลสุขภาพช่องปากในโรงเรียน จำนวน 2 โรง ๆ ละ 1 วัน และอบรมผู้ปกครองจำนวน 3  ศูนย์ๆ ละ 1 วัน รวม 5 วัน (2) จัดอบรมการส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน            3  ศูนย์ๆ ละ 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เด็กไทยฟันดี ชีวีมีสุขทุกช่วงวัย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2535-01-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซูรา มาหามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด