กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานในการป้องกันการจมน้ำปี 2566 ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุษณา มรรคาเขต




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานในการป้องกันการจมน้ำปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-01-11 เลขที่ข้อตกลง 10/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานในการป้องกันการจมน้ำปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานในการป้องกันการจมน้ำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานในการป้องกันการจมน้ำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L8008-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,932.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กำหนดให้การลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีเป็นเป้าหมายหนึ่งที่สำคัญในแผนงานการป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพซึ่งจะช่วยส่งผลให้อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy : LE) ไม่น้อยกว่า 75 ปี และอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (HealthAdjusted LifeExpectancy : HALE) ไม่น้อยกว่า 75 ปี โดยได้กำหนดเป้าหมายการลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี และในระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2565) ให้มีอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำน้อยกว่าหรือเท่ากับ 4.5 ต่อประชากรเด็กแสนคนและระยะที่ 2 (พ.ศ. 2566 - 2570) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3.5 ต่อประกรเด็กแสนคน (ประมาณ 370 คน) ภายในปี 2570ซึ่งจากข้อมูลเบื้องต้นในปี พ.ศ. 2565 ในช่วง 8 เดือน (เดือนมกราคม – สิงหาคม 2565)พบว่า มีเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำมากถึง 475 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2564 ร้อยละ 14.0 (เดือนมกราคม – สิงหาคม 2564จำนวน408 คน) และจังหวัดสตูลมีประชากรเด็กเฉลี่ย 3 ปี (พ.ศ. 2559- 2561) จำนวน75,448รายพบอัตราการเสียชีวิตเฉลี่ยร้อยละ 10.2 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำในเด็กกลุ่มงานเวชกรรมสังคมจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานในการป้องกันการจมน้ำปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างทีมอาสาสมัครผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในชุมชน และผ่านการอบรมหลักสูตรฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ
  2. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการสอนทักษะการเอาชีวิตรอดและการ CPR
  3. กิจกรรมป้องกัน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในการจัดการด้านความปลอดภัยแหล่งน้ำเสี่ยงในในชุมชนและครัวเรือน ( อย่างน้อย 6 แห่ง)
  4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในชุมชนพิมาน
  2. แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการจัดการด้านความปลอดภัยอย่างน้อย 6 แห่ง
  3. แกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานได้รับการฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR
  4. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 26 มิถุนายน 2566 มีการบรรยายและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ (Water Safety Knowledge) การเอาชีวิตและพื้นฐานการว่ายน้ำ (Swim and Service) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ (Water Rescue) ฝึกปฏิบัติการทดสอบทักษะการว่ายน้ำและการลอยตัว โดยมีการแบ่งกลุ่ม กลุ่มที่ 1 บรรยายและฝึกปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขการกอดรัด กลุ่มที่ 2 บรรยายและฝึกปฏิบัติการช่วยประสบทางน้ำและสถานการณ์สมมติ  กลุ่มที่ 3 บรรยายและฝึกปฏิบัติการเอาชีวิตรอดในน้ำ กลุ่มที่ 4 บรรยายและฝึกทดสอบรายบุคคล  วัดผลจากการปฏิบัติรายบุคคล
คิดเป็นค่าคะแนนวัดผลดังนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด ผลการสอบถามเรื่องความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ (4 คะแนน)  ตามเอกสารแนบท้าย   -  4 คะแนน ผ่าน 13 คน -  3 คะแนน ผ่าน 9 คน ประเมินผลการเรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดบรรยายและฝึกทดสอบปฏิบัติรายบุคคล (100 คะแนน) การคิดคะแนนตามแบบประเมินผลการเรียน กำหนดให้มีการถ่วงน้ำหนักคะแนน ดังนี้

    1. การเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ  (คะแนน 70 คะแนน) มีทั้งหมด  10 ข้อ  น้ำหนักคะแนนข้อละ 7 คะแนน
    2. ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ  (คะแนนเต็ม  20 คะแนน) มีทั้งหมด  4 ข้อ  น้ำหนักคะแนนข้อละ 5 คะแนน
    3. การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบทางน้ำ  (คะแนนเต็ม 10  คะแนน) มีทั้งหมด  4 ข้อ  น้ำหนักคะแนนข้อละ  2.5 คะแนน เกณฑ์การประเมินผล ระดับ คะแนน ความหมาย A 80-100 ดีเยี่ยม B 70-79 ดี C 60-69 พอใช้ D 50-59 อ่อน E ‹ 50 อ่อนมาก

    -  72 คะแนน ผ่าน 1 คน -  79 คะแนน ผ่าน 1 คน -  86 คะแนน ผ่าน 6 คน -  93 คะแนน ผ่าน 1 คน -  100 คะแนน ผ่าน 11 คน

    การประเมินผล  สอบผ่านตามเกณฑ์ทุกคน ร้อยละ 80

 

0 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการสอนทักษะการเอาชีวิตรอดและการ CPR

วันที่ 27 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 27 มิถุนายน 2566 บรรยายหัวข้อ หลักสูตรการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)  แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการจัดการด้านความปลอดภัย  และฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) รายบุคคล กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมสามารถเป็นครูพี่เลี้ยงให้กับชุมชนได้  สามารถสร้างทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในชุมชนพิมาน  รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการจัดการด้านความปลอดภัย  แกนนำจิตอาสาได้รับการฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR  และอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลดลง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพ

 

0 0

3. กิจกรรมป้องกัน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในการจัดการด้านความปลอดภัยแหล่งน้ำเสี่ยงในในชุมชนและครัวเรือน ( อย่างน้อย 6 แห่ง)

วันที่ 26 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมป้องกัน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในการจัดการด้าานความปลอดภัยแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนและครัวเรือน อย่างน้อย 6 แห่ง ตั้งตามจุดเสี่ยงในชุมชน 6 แห่ง ได้แก่ คลองมำบัง,ชุมชนชนาธิป,ชุมชนเทศบาล 4,ชุมชนหัวทาง,ชุมชนท่ายนายเนาว์,ชุมชนโคกพยอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์จุดเสี่ยงโครงไม่พร้อมไวนิลพร้อมติดตั้ง

 

0 0

4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีทีมผู้ก่อการดี (Merit  Maker) ในชุมชนพิมาน
  2. แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการจัดการด้านความปลอดภัยอย่างน้อย 6 แห่ง
  3. แกนนำจิตอาสาชุมชนได้รับการฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR
  4. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างทีมอาสาสมัครผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในชุมชน และผ่านการอบรมหลักสูตรฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ
ตัวชี้วัด : สร้างทีมอาสาสมัครผู้ก่อการดี (Merit Maker) ชุมชนพิมานจำนวน 2 ทีม
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี
ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 2.5 คน/แสนประชากร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างทีมอาสาสมัครผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในชุมชน และผ่านการอบรมหลักสูตรฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ (2) เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (2) อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการสอนทักษะการเอาชีวิตรอดและการ CPR (3) กิจกรรมป้องกัน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในการจัดการด้านความปลอดภัยแหล่งน้ำเสี่ยงในในชุมชนและครัวเรือน ( อย่างน้อย 6 แห่ง) (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาชุมชนพิมานในการป้องกันการจมน้ำปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอุษณา มรรคาเขต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด