กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชน ประชาชน สุขภาพดี ชีวีมีสุข ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมหมัดตัรมีซี สะปากอ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชน ประชาชน สุขภาพดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-02-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชน ประชาชน สุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชน ประชาชน สุขภาพดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชน ประชาชน สุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2479-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ การส่งเสริมสุขภาพเป็นการลงทุนในสัดส่วนที่น้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการรักษาพยาบาลที่มีราคาแพง รัฐบาลให้ความสำคัญในเรื่องของการส่งเสริมดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของประชาชนทั้งประเทศ จึงกำหนดเป็นนโยบายในการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยมยั่งยืน ในเรื่องของการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน เชื่อว่าหากประชาชนมีสุขภาพที่ดีจะส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีตามไปด้วย และเมื่อประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี ส่งผลให้การพัฒนาประเทศมีความเจริญก้าวหน้าและมั่นคง เพื่อการตอบสนองต่อนโยบายและกลยุทธ์ของการส่งเสริมสุขภาพและสุขภาวะอนามัยของรัฐบาล เพื่อเป็นการรองรับการเปลี่ยนแปลงของปัญหาสุขภาพและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตามบริบท ศูนย์เยาวชนบ้านไอสะเตีย ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพกาย สุขภาพใจ ของเยาวชน ประชาชนในชุมชน จึงได้จัดโครงการพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชน ประชาชน สุขภาพดี ชีวีมีสุข เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข และสามารถดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ให้ปราศจากโรคภัย สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกทักษะชีวิต ห่างไกลโรคติดต่อ
  2. กิจกรรมฝึกทักษะการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
  3. กิจกรรมฝึกทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีการสร้างสุขภาพจิตที่ดี และสามารถปรับใช้ในการดำเนินได้อย่างถูกต้อง 2.ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัย มีอารมณ์และจิตใจที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 3.เด็กและเยาวชนมีทักษะในการดำเนินชีวิตแล้วสามารถขยายผลไปสู่คนรอบข้างได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฝึกทักษะชีวิต ห่างไกลโรคติดต่อ

วันที่ 5 ธันวาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมละลายพฤติกรรมและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคติดต่อ และมีทักษะในการป้องกันโรคติดต่อ

 

0 0

2. กิจกรรมฝึกทักษะการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์

วันที่ 5 ธันวาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ละลายพฤติกรรม กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ สามารถที่จะรับความรู้สึก ระงับอารมณ์ของตนเอง

 

0 0

3. กิจกรรมฝึกทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

วันที่ 6 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้และฝึกปฎิบัติการออกกำลังกายที่ถูกต้อง และกิจกรรมทางกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้อง และได้ละลายพฤติกรรม กระบวนการทำงานเป็นทีม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
20.00 25.00

 

2 เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
10.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกทักษะชีวิต ห่างไกลโรคติดต่อ (2) กิจกรรมฝึกทักษะการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (3) กิจกรรมฝึกทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาทักษะชีวิตเยาวชน ประชาชน สุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมหมัดตัรมีซี สะปากอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด