กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นพ.สุพล เจริญวิกกัย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5284-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) อาหารเป็นปัจจัยสี่ของการดำรงชีวิต ในการรับประทานอาหารจึงจำเป็นต้องคำนึงถึงหลักโภชนาการ ซึ่งอาหารแต่ละประเภทให้ประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกันออกไป ประโยชน์ของอาหารที่มีต่อร่างกาย คือ ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย เสริมสร้างอวัยวะต่างๆ ของร่างกายให้เจริญเติบโต ซ่อมแซ่มอวัยวะของร่างกายที่สึกหรอ ทรุดโทรมให้กลับมาคงสภาพดี ช่วยควบคุมการกระตุ้นอวัยวะต่างๆ ของร่างกายให้ทำหน้าที่ปกติ ช่วยป้องกันและต้านทานโรค หากสภาพร่างกายได้รับอาหารที่มีสารอาหารครบ และเพียงพอต่อความต้องการ ร่างกายสามารถนำสารอาหารเหล่านั้นไปใช้ได้อย่างเต็มที่ เรียกว่าภาวะโภชนาการที่ดี แต่ถ้าร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่ครบถ้วน และไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะเรียกว่าภาวะโภชนาการที่ไม่ดี หรือทุพโภชนาการ หลักการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ถ้าหากรับประทานอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ จะทำให้มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ในปัจจุบันอาหารมีให้เลือกรับประทานมากมาย มีทั้งที่ให้ประโยชน์ต่อร่างกายและไม่ให้ประโยชน์ ดังนั้นในการบริโภคอาหารจึงคำนึงถึงหลักโภชนาการและการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เกิดภาวะโภชนาการที่ดี อาหารนั้นต้องสดใหม่ไม่เน่าเสีย และที่สำคัญต้องรับประทานอาหารให้ครบทั้งห้าหมู่ ให้เหมาะสมตามแต่ละบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ช่วงอายุ เพศ วัย ผู้ที่มีความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ หรือมีโรคประจำตัวก็ตาม
หมู่ที่ 5 -10 ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในปี 2565 ประชากรที่มีภาวะทุพโภชนาการ(อ้วน ผอม เตี้ย) โดยแบ่งเป็นกลุ่มอายุดังนี้ เด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 393 คนที่ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ร้อยละ 20.72(51 ราย) เด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 261 คน ร้อยละ40.61(106 ราย) กลุ่มอายุ 5 -18 ปี จำนวน 1,661 คน มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ร้อยละ 61.35 (1,019 ราย) และมีเส้นรอบเอวปกติ ร้อยละ 44.66(740 ราย) การที่คนเราจะมีสุขภาพดีได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักๆ คือ การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับความเครียด โดยจะต้องมีความรู้ในการดูแลตนเองสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเอง รู้สถานะสุขภาพของตนเองว่ามีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรัง หรือเสี่ยงต่อสุขภาพด้านอื่นๆด้วยหรือไม่ เมื่อมีความรู้แล้ว ก็ต้องมีทักษะในเลือกสิ่งเหมาะสมและเกิดผลดีกับตัวเองมากที่สุด ทั้งการเลือกบริโภคอาหาร การออกกำลังกายที่เหมาะกับตนเอง และสามารถจัดการอารมณ์ ความเครียดของตนเองได้
การจัดทำโครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านตำบลควนสตอขึ้นนั้น เพื่อให้แม่บ้านมีความรู้ มีทักษะในด้านอาหารและโภชนาการ ซึ่งเป็นคนสำคัญในการดูแลครอบครัว ทำให้บุคคล สมาชิกในครอบครัวได้รับโภชนาการที่ถูกต้อง เหมาะสมมากยิ่งขึ้น รวมทั้งแม่บ้านได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองตามหลัก 3อ 2ส เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรัง และมีสุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้แม่บ้านมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการที่เหมาะสำหรับตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ข้อที่ 2 เพื่อให้แม่บ้านมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวในด้านการเลือกอาหาร การประกอบอาหารที่เหมาะสม ข้อที่ 3 เพื่อให้แม่บ้านที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ สามารถลดค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือมีความเสี่ยงน้อยลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. แม่บ้านมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการที่เหมาะสำหรับตนเอง และสมาชิกในครอบครัว 2. แม่บ้านมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวในด้านการเลือกอาหาร การประกอบอาหารที่เหมาะสม 3. แม่บ้านและสมาชิกในครอบครัวสามารถลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ จากการทานอาหารที่ไม่เหมาะสมกับตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้แม่บ้านมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการที่เหมาะสำหรับตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ข้อที่ 2 เพื่อให้แม่บ้านมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวในด้านการเลือกอาหาร การประกอบอาหารที่เหมาะสม ข้อที่ 3 เพื่อให้แม่บ้านที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ สามารถลดค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือมีความเสี่ยงน้อยลง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนความรู้ก่อนและหลัง ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ข้อที่ 2 เปรียบเทียบพฤติกรรมบริโภคอาหาร การประกอบอาหารในครอบครัว ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม ข้อที่ 3 เปรียบเทียบค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิต ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้แม่บ้านมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการที่เหมาะสำหรับตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ข้อที่ 2 เพื่อให้แม่บ้านมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวในด้านการเลือกอาหาร การประกอบอาหารที่เหมาะสม ข้อที่ 3 เพื่อให้แม่บ้านที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ สามารถลดค่าดัชนีมวลกาย รอบเอว ค่าน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือมีความเสี่ยงน้อยลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านอาหารและโภชนาการในแม่บ้านควนสตอ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นพ.สุพล เจริญวิกกัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด