กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอ ”



หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมมัดตัลมีซัม อาบู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L2476-02-038 เลขที่ข้อตกลง 032/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L2476-02-038 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. หลักการและเหตุผล ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาส าคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติดังนั้น การส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพ จึงเป็นเรื่องส าคัญหากได้ ปลูกฝังและเสริมสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้จะท าให้ประชาชนมีส่วนร่วมในก ารสร้างเสริมสุขภาพ ตลอดจนแนวทางการควบคุมและป้องกันโรคที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อภาวะสุขภาพของประชาชน โดย ชุมชนมีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรมควบคุมโรคด้วย ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจึง จ าเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้กับเด็กและผู้สูงอายุให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล สุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้สามารถช่วยเหลือตัวเอง และสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้เป็น ปกติสุข ในการด าเนินการเพื่อจัดท าโครงการของโรงเรียนบ้านดุซงยอ ในครั้งนี้ โรงเรียนได้ด าเนินการ ตามกรอบและแนวทางของ สสส. เพื่อการพัฒนางานเชิงระบบและการพัฒนางานเชิงประเด็นในการ สุขภาวะ 5 ด้านดังกล่าว โดยได้ด าเนินการประเมินสภาพการณ์จริงทั้ง 5 ด้าน และน าผลการประเมิน มาพูดคุยระดมความคิดในระหว่างภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ จากผลการประเมินพบว่าในแต่ละ ด้านมีผลการประเมินในภาพรวม 3.72 แยกเป็นแต่ละด้านได้ดังนี้ ด้านที่ 1 ผู้เรียนเป็นสุข 3.88 ด้านที่
    2 โรงเรียนเป็นสุข 2.79 ด้านที่ 3 สภาพแวดล้อมเป็นสุข 3.16 ด้านที่ 4 ครอบครัวเป็นสุข 3.98 และ ด้านที่ 5 ชุมชนเป็นสุข 3.91 จากผลการประเมินดังกล่าวนี้พบว่าโรงเรียนบ้านดุซงยอ จึงได้จัดท า ระบบบริหารจัดการที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้เรียนทั้ง 5 องค์ประกอบ โดยได้น าผลการ ประเมินมาพิจารณาร่วมกันในเวทีระดมความคิดในพื้นที่ ซึ่งได้ด าเนินการโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน คือ ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรชุมชน ผลของการ พูดคุยแลกเปลี่ยนกันสรุปได้ คือการดูแลเฝ้าระวัง การป้องกันรักษาสุขภาพเป็นสิ่งที่ส าคัญเป็นอย่าง มาก โรงเรียนต้องร่วมกับเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ด าเนินการจัดการด้านสุขภาวะโดยมุ่งเน้น ข้อมูลจากการประเมินทั้ง 5 ด้านมาเป็นเป้าหมายหลัก เพื่อพัฒนาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน
    ดังนั้นโรงเรียนบ้านปงสนุก จึงมีแนวคิดร่วมกันที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนบ้านดุซงยอ มีการ บริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนครบ 5 องค์ประกอบของโรงเรียนสุขภาวะ และ ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมที่ลดพฤติกรรมเสี่ยง และเพิ่มพฤติกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต นักเรียนโรงเรียนบ้านดุซงยอ ที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและชุมชนและมีการพัฒนาสุขภาวะในโรงเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนบ้านดุซงยอมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ปลอดภัยจากโรคฟันพุ 2. เพื่อส่งเสริมใหันักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพในช่องปาก 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการเฝ้าระวังสุขภาพปลอดภัยจากโรค 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์ 6.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. หนูน้อยฟันสวย
  2. กิจกรรมที่ 1 หนูน้อยฟันสวย กิจกรรมที่ 2 แก้ปัญหานักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการต่ำก่วาเกณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 340
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน ครู บุคลากรมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพ การป้องกัน การหลีกเลี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ และอนามัยส่วนบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. นักเรียนนำความรู้ทักษะไปใช้ดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างเป็นสุข
  3. นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติงานเฝ้าระวังสุขภาพได้ตามที่กำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. หนูน้อยฟันสวย

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จากการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยโรงเรียนบ้านดุซงยอ ซึ่งได้ดำเนินการจัดกิจกรรม ดังนี้ ได้มีการเชิญวิทยากรที่มีความรู้ทางด้านทันตกรรมสุขภาพในช่องปากมาให้ความรู้กับนักเรียนและให้ความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการที่ถูกหลักอนามัยตามสุขบัญัติ 10 ประการ
ซึ่งได้ดำเนินการจัดกิจกรรม ๒ กิจกรรมด้วยกัน
กิจกรรมที่ ๑ หนูน้อยฟันสวย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการป้องกันโรคและภัยอันตรายใกล้ตัวต่างๆในโรงเรียนบ้านดุซงยอ มีนักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ๔๖๙ คน ตามขอบข่าย สามารถปฎิบัติกิจกรรมและเกิดทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามแผนงานการดำเนินนงาน กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมการแก้ปัญหานักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ มีนักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ๓๑ คน ตามขอบข่าย สามารถปฎิบัติกิจกรรมและเกิดทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามแผนงาน ชึ่งการดำเนินงานสามารถทำได้ตามแผนงาน ร้อยละ ๙0 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยโรงเรียนบ้านดุซงยอ ได้ดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนชั้นอนุบาล - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดุซงยอ จำนวน 469 คน เข้าร่วมกิจกรรมตามขอบข่าย สามารถปฎิบัติกิจกรรมเกิดทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามแผน ร้อยละ 90 %
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยโรงเรียนบ้านดุซงยอ ได้ดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 90 %
ผลลัพธ์ ร้อยละ 100 %

 

469 0

2. กิจกรรมที่ 1 หนูน้อยฟันสวย กิจกรรมที่ 2 แก้ปัญหานักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการต่ำก่วาเกณฑ์

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จากการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยโรงเรียนบ้านดุซงยอ ซึ่งได้ดำเนินการจัดกิจกรรม ๒  กิจกรรมด้วยกัน กิจกรรมที่ ๑ หนูน้อยฟันสวย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการป้องกันโรคและภัยอันตรายใกล้ตัวต่างๆในโรงเรียนบ้านดุซงยอ
ได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียน  มีนักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ๔๖๙  คน ตามขอบข่าย สามารถปฎิบัติกิจกรรมและเกิดทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามแผนงานการดำเนินนงาน กิจกรรมที่  ๒ กิจกรรมการแก้ปัญหานักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ มีนักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด  ๓๑  คน  โดยคัดหานักเรียนที่มีปัญหาน้ำหนัก ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ โดยมีอาหารเสริมนม  ขนม  ข้าวต้มและอาหารว่าง  เป็นต้น ตามขอบข่าย สามารถปฎิบัติกิจกรรมและเกิดทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามแผนงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนชั้นอนุบาล - ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  โรงเรียนบ้านดุซงยอ  จำนวนนักเรียน  496  คน เข้าร่วมกิจกรรมตามขอบข่าย  สามารถปฏิบัติกิจกรรมและเกิดทักษะ  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามแผนงาน  ร้อยละ  90  % ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอและได้ดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์  ร้อยละ  90  % ผลลัพธ์  ร้อยละ  100  %

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนบ้านดุซงยอมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ปลอดภัยจากโรคฟันพุ 2. เพื่อส่งเสริมใหันักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพในช่องปาก 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการเฝ้าระวังสุขภาพปลอดภัยจากโรค 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์ 6.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ผลผลิต (Output) ร้อยละ 90 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้าน ดุซงยอดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน บรรลุตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 90 ผลลัพธ์ (Outcome) ร้อยละ 100 นักเรียนระดับชั้นอนุบาล-ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100
1.00 15.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340 340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 340 340
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนบ้านดุซงยอมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ปลอดภัยจากโรคฟันพุ 2. เพื่อส่งเสริมใหันักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพในช่องปาก 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการเฝ้าระวังสุขภาพปลอดภัยจากโรค 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์ 6.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) หนูน้อยฟันสวย (2) กิจกรรมที่  1  หนูน้อยฟันสวย  กิจกรรมที่  2  แก้ปัญหานักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการต่ำก่วาเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L2476-02-038

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมมัดตัลมีซัม อาบู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด