กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ


“ โครงการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อสภาวะที่ดีของชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ประจำปี 2566 ”

บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ม.9 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายเจ๊ะฮามิ สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อสภาวะที่ดีของชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ประจำปี 2566

ที่อยู่ บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ม.9 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2506-01-02 เลขที่ข้อตกลง กท.บองอ 001/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อสภาวะที่ดีของชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ม.9 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อสภาวะที่ดีของชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อสภาวะที่ดีของชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ม.9 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2506-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,645.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศนับวันมีขยะสะสมในปริมาณที่มากขึ้น เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากร ทั้งประชากรในพื้นที่และประชากรแฝงที่เพิ่มขึ้น พร้อมกับความเจริญ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน จากสถานการณ์ของขยะมูลฝอยทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม ตลอดจนส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน การทำลายทัศนียภาพ ความสวยงามของหมู่บ้าน อีกทั้งยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ ซึ่งเป็นพาหะนำโรคต่าง ๆ เช่น หนู ยุง แมลงวัน ฯลฯ ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนสุขภาพของคนในชุมชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ปัจจุบันถึงแม้ว่าจะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยดังกล่าวรวมถึงมีมาตรการรูปแบบหรือวิธีการจัดการไว้แล้ว แต่ยังคงไม่เพียงพอหรือไม่สามารถตอบสนองต่อปริมาณขยะมูลฝอยทีเพิ่มมากขึ้นและยังคงก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ อาทิ เช่น ปัญหาขยะตกค้าง ก่อให้เกิดความสกปรกในพื้นที่ ปัญหาด้านกระบวนการกำจัดขยะหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่หรือสร้างมูลค่าหรือสร้างรายได้ ซึ่งจะเป็นผลให้สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นได้ จังหวัดนราธิวาส ได้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด”ประจำปีพ.ศ 2565 ภายใต้ (ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะของประเทศ (พ.ศ. 2565 – 2570) โดยดำเนินการตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมู่บ้านและชุมชน โดยใช้หลักการ 3 ช. : ใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่ ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 3 ระยะ ตั้งแต่ ต้นทาง กลางทางและปลายทาง เพื่อลดปริมาณขยะและส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดทำระบบเก็บขนอย่างมีประสิทธิภาพและขยะมูลฝอยได้รับการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ประกอบกับกระทรวงมหาดไทยกำหนดนโยบายการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อบรรลุเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกและการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศตามนโยบายของรัฐบาล โดยขึ้นทะเบียนของโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเทศไทย ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ตั้งแต่ระดับครัวเรือน โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคัดแยกขยะเปียกหรือขยะที่มาจากเศษอาหารออกจากขยะทั่วไป เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ไขปัญหาขยะที่เกิดจากต้นทางได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการลดปริมาณและคัดแยกขยะเปียกของครัวเรือนในระดับท้องถิ่น และเป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการ “ขยะเปียกลดโลกร้อน”หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5จึงได้ทำโครงการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อสภาวะที่ดีของชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5 ประจำปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้อง
  2. 2. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้กับประชาชน ตระหนักในการคัดแยกขยะครัวเรือนที่ต้นทาง
  3. 3. เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน
  4. 4.เพื่อป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมและทบทวนความรู้ความเข้าใจในการคักแยกขยะที่ต้นทางให้แก่ประชาชนหมู่ 9 บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5 ,ทีมผู้บริหาร สมาชิกสภาและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลบองอและอสม.บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะที่ต้นทาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 301
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะและมีจิตสำนึก ตระหนักถึงความสำคัญในการลดปริมาณและคัดแยกขยะ
  2. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs การนำกลับมาใช้ใหม่ วิธีการกำจัดขยะประเภทต่างๆอย่างถูกวิธีและสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดผลได้จริง
  3. ประชาชนสามารถบริหารจัดการตนเองในการคัดแยกขยะ ขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง ลดการ แพร่ระบาดของโลกที่เกิดจากสภาพสิ่งแวดล้อม
  4. ประชาชนดำเนินการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือนด้วยตนเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ชาวบ้านมีความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้อง
0.00

 

2 2. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้กับประชาชน ตระหนักในการคัดแยกขยะครัวเรือนที่ต้นทาง
ตัวชี้วัด : ชาวบ้านมีความตระหนักในการคัดแยกขยะครัวเรือนที่ต้นทาง
0.00

 

3 3. เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน
0.00

 

4 4.เพื่อป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในชุมชนมากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 301
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 301
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในครัวเรือนก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้กับประชาชน ตระหนักในการคัดแยกขยะครัวเรือนที่ต้นทาง (3) 3. เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน (4) 4.เพื่อป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมและทบทวนความรู้ความเข้าใจในการคักแยกขยะที่ต้นทางให้แก่ประชาชนหมู่ 9  บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5 ,ทีมผู้บริหาร สมาชิกสภาและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลบองอและอสม.บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะที่ต้นทาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อสภาวะที่ดีของชุมชนบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5 ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2506-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจ๊ะฮามิ สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด