กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรมลดโรคและลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 พฤษภาคม 2566 - 25 พฤษภาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 9,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายไชยวุฒิ ชนะพล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 22 พ.ค. 2566 25 พ.ค. 2566 7,300.00
2 22 พ.ค. 2566 25 เม.ย. 2566 2,200.00
รวมงบประมาณ 9,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
19.02
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
14.01

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด นับเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก โดยคนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อ จากผลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพนประจำปี 2565 พบผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 104 คนผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 167 คน กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 5 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน 3 คน (จำนวนผู้ป่วยเก่าโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 166 คน และโรคเบาหวานจำนวน 63 คน)สาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ได้แก่ การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัดเค็มจัด หวานจัดรวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง จำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกระดับรวมทั้งประชาชนอย่างจริงจัง เพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักสดและผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม)และลดอาหารไขมันซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดลงลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลตะแพน จึงจัดทำโครงการปรับพฤติกรรมลดโรคและลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ขึ้น โดยมุ่งเน้นส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓ -๕ วันวันละอย่างน้อย ๓๐ นาที ร่วมกับกินผักอย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัม และลดอาหารไขมัน ตลอดจนมีส่วนร่วมในการจัดปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง อันจะนำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิต และส่งผลให้ประชาชนมีการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืนและมีสุขภาพแข็งแรง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

19.02 15.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,500.00 2 9,500.00
22 พ.ค. 66 1.กลุ่มเสี่ยง รวบรวมข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ - ดำเนินการสร้างแกนนำกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน เพื่อเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ตามกระบวนการคลินิก DPAC - ติดตามผลภายหลังเข้ากระบวนการคลีนิก DPAC เปร 0 7,300.00 7,700.00
23 - 25 พ.ค. 66 2. กลุ่มผู้ป่วยเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเบาหวาน,โรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนที่ควบคุมไม่ได้ จำนวน 10 คน 0 2,200.00 1,800.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูง เบาหวานรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 4 ของกลุ่มเสี่ยง 2.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ มีภาวะแทรกซ้อนไม่เกินร้อยละ 10

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ธ.ค. 2565 00:00 น.