กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการจัดการความเครียด ส่งเสริมสุขภาพใจ ด้วยดนตรี ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
คุณกำชัย สากลเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการจัดการความเครียด ส่งเสริมสุขภาพใจ ด้วยดนตรี

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-2-06 เลขที่ข้อตกลง 10/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการความเครียด ส่งเสริมสุขภาพใจ ด้วยดนตรี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการความเครียด ส่งเสริมสุขภาพใจ ด้วยดนตรี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการความเครียด ส่งเสริมสุขภาพใจ ด้วยดนตรี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการพัฒนาอย่างรวดเร็วทางสังคม การสื่อสาร การคมนาคม และเทคโนโลยีในปัจจุบัน แม้จะเป็นการพัฒนาในทางที่ดีขึ้น ทำให้เกิดความก้าวหน้า สะดวกสบายของการดำเนินชีวิตในหลายๆ ด้าน แต่ก็สามารถส่งผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพจิตของผู้คนได้ค่อนข้างมากเช่นกันทั้งการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการติดต่อสื่อสารที่สะดวกรวดเร็ว ซึ่งข้อมูลบางส่วนก็มาพร้อมความเครียดและรบกวนความสงบโดยไม่จำเป็น การดำเนินชีวิตที่ต้องเร่งรีบ แข่งขันมากขึ้น ความเป็นชุมชนเมืองที่แออัด ตลอดจนมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้เกิดความเครียดอย่างต่อเนื่องได้ทั้งสิ้น
ความเครียดและการพัฒนานั้นเป็นสิ่งที่อยู่คู่กัน เพราะความเครียด คือความรู้สึกกดดัน ดึงรั้ง บีบคั้น ซึ่งเป็นกลไกการตอบสนองตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต เมื่อเผชิญกับสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่ทำให้รู้สึกท้าทาย ต้องการการตื่นตัว แม้ความเครียดในระดับที่พอดีจะเป็นสิ่งจำเป็นต่อการอยู่รอดและการพัฒนา แต่อย่างไรก็ตามความเครียดในระดับที่มากเกินไปสามารถส่งผลเสียต่อร่างกาย อารมณ์และพฤติกรรมได้อย่างมาก รบกวนความสุขในการใช้ชีวิตประจำวัน หากต่อเนื่องยาวนานในระดับสูงก็จะนำไปสู่การเจ็บป่วยได้ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ความเครียดเป็นเรื่องเฉพาะบุคคลไม่สามารถตัดสินแทนกันได้ แต่ละคนต่างมีสิ่งที่ทำให้เครียดแตกต่างกัน เราไม่สามารถอยู่โดยปราศจากความเครียดได้ ดังนั้นการทำความเข้าใจกับลักษณะความเครียดของตนเอง รวมถึงการมีวิธีในการรับมือและจัดการกับความเครียดที่มีประสิทธิภาพของแต่ละบุคคลนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ
สถานการณ์ปัจจุบันในอำเภอเบตงก็เช่นเดียวกัน มีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นพร้อมๆ กันในหลายๆด้าน การแข่งขัน และความเครียด ก็เพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ด้วยลักษณะของเมืองเบตงนั้นเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญในจังหวัดยะลา เป็นเมืองที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีทั้งความแออัดที่มากขึ้น การแข่งขันทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่สูงขึ้น ค่าครองชีพที่สูง สภาพอากาศที่ไม่เอื้อต่อการกรีดยางพารา รวมถึงสถานการณ์โควิดที่ผ่านมาที่ทำให้กิจการร้านค้าหลายแห่งต้องประสบปัญหาอย่างหนัก ตลอดจนปัญหายาเสพติด และปัจจัยอื่นๆ อีกมากมาย ทำให้ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตงมีภาวะเครียดมากขึ้นซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ชมรมอนุรักษ์เพลงเก่าซึ่งเป็นการรวมตัวของประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตงที่ชื่นชอบในการผ่อนคลายความเครียดด้วยบทเพลงเก่าจึงเล็งเห็นความสำคัญของการสนับสนุนให้ประชาชนได้ตระหนักถึงการส่งเสริมดูแลสุขภาพจิต จึงได้จัดทำโครงการ “จัดการความเครียด ส่งเสริมสุขภาพใจ ด้วยดนตรี” ซึ่งมีทั้งกิจกรรมเรียนรู้วิธีประเมินความเครียดและวิธีประเมินความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าด้วยตนเอง ตลอดจนมีแผนการรับมือกับความเครียดของแต่ละบุคคล รวมถึงการเชิญชวนให้ผู้ที่สนใจการผ่อนคลายความเครียดด้วยดนตรีได้มีกิจกรรมการร้องเพลงและฟังดนตรีไปด้วยกัน เพราะดนตรีเป็นหนึ่งในเครื่องมือสำคัญของมนุษย์ที่นิยมใช้ในการผ่อนคลายความเครียดอย่างมีประสิทธิภาพมาอย่างช้านาน ดนตรีช่วยกระตุ้นสมอง ปรับระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียดให้รู้สึกผ่อนคลาย ลดความเครียด ลดภาวะวิตกกังวล ลดระดับความซึมเศร้าได้ จึงเปรียบดนตรีเหมือนยาดีที่มีผลอย่างมากกับจิตใจ กิจกรรมดังกล่าวยังส่งเสริมให้ประชาชนได้พบปะพูดคุยมีกิจกรรมร่วมกัน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งวิธีที่สำคัญในการลดความเครียดอีกด้วย อนึ่งการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนในเทศบาลเมืองเบตงสามารถประเมินระดับความเครียด ระดับความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ด้วยตนเองได้ สามารถจัดการกับความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงได้ผ่อนคลายความเครียดโดยใช้ดนตรีบำบัดไปพร้อมกับกลุ่มชมรมอนุรักษ์เพลงเก่า ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดี นำไปสู่การมีสุขภาพกายดี และสุขภาพสังคมที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องความเครียด สามารถทำแผนในการจัดการความเครียดของตนเองได้
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าของตนเองได้
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับความเครียดสูงหรือมีอาการของโรคซึมเศร้าได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการที่ร่วมกิจกรรมผ่อนคลายด้วยดนตรี มีระดับความเครียดลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมผ่อนคลายความเครียดด้วยเพลงเก่า เดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความเครียด การประเมินระดับความเครียดและความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าด้วยตนเอง การจัดการความเครียด และการทำแผนจัดการความเครียดส่วนบุคคล
  3. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 1
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ต่าง ๆ
  5. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 2
  6. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 3
  7. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 4
  8. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 5
  9. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 6

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ต่าง ๆ

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ขั้นวางแผน     1.1 ประชุมวางแผนการดำเนินการจัดโครงการ     1.2 ประชุมสมาชิกชมรมอนุรักษ์เพลงเก่าเพื่อหารือรูปแบบของโครงการและกิจกรรม     1.3 สำรวจผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ     1.4ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง     1.5 เสนอโครงการเพื่อของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในการดำเนินงาน และพิจารณาอนุมัติโครงการ     1.6 ประสานวิทยากรในการจัดกิจกรรมให้ความรู้ คัดกรองและให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต     1.7 ขอใช้สถานที่ จัดเตรียมเอกสาร และวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ     1.8 ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย 2. ขั้นดำเนินการ       2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ต่าง ๆ ดังนี้           - กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความเครียด,การประเมินระดับความเครียดและความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าด้วยตนเอง,การจัดการความเครียด และการทำแผนจัดการความเครียดส่วนบุคคล
    2.2 กิจกรรมผ่อนคลายความเครียดด้วยเพลงเก่า           - กิจกรรมผ่อนคลายความเครียดด้วยเพลงเก่าอย่างต่อเนื่อง เดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน ในสถานที่สาธารณะ
            - กิจกรรมคัดกรองประเมินภาวะเครียด ความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ให้คำปรึกษาแก่ประชาชนและส่งต่อผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า หรือปัญหาสุขภาพจิตที่ต้องการการรักษาให้ได้รับบริการด้านสุขภาพจิต
          - ติดตามประเมินระดับภาวะเครียด ระดับความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ตลอดจนการปฏิบัติตามแผนจัดการความเครียดของผู้เข้าอบรมหลังสิ้นสุดกิจกรรม
3. ขั้นสรุปและเขียนรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความเครียด,การประเมินระดับความเครียดและความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าด้วยตนเอง,การจัดการความเครียด และการทำแผนจัดการความเครียดส่วนบุคคล  จำนวน 1 ครั้ง

 

30 0

2. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 1

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

30 0

3. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 2

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

0 0

4. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 3

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

0 0

5. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 4

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

0 0

6. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 5

วันที่ 6 พฤษภาคม 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

0 0

7. กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 6

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องความเครียด สามารถทำแผนในการจัดการความเครียดของตนเองได้
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องความเครียด ร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถบอกแผนการจัดการความเครียดของตนเองได้ ร้อยละ 80
0.00

 

2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าของตนเองได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการบอกวิธีประเมินความเครียดและความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าของตนเองได้ ร้อยละ 80
0.00

 

3 ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับความเครียดสูงหรือมีอาการของโรคซึมเศร้าได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน ที่มีระดับความเครียดสูงหรือมีอาการของโรคซึมเศร้าตั้งแต่ระดับปานกลางขึ้นไปได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
0.00

 

4 ผู้เข้าร่วมโครงการที่ร่วมกิจกรรมผ่อนคลายด้วยดนตรี มีระดับความเครียดลดลง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการที่ร่วมกิจกรรมผ่อนคลายด้วยดนตรี ร้อยละ 80 มีระดับความเครียดลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องความเครียด สามารถทำแผนในการจัดการความเครียดของตนเองได้ (2) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าของตนเองได้ (3) ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับความเครียดสูงหรือมีอาการของโรคซึมเศร้าได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา (4) ผู้เข้าร่วมโครงการที่ร่วมกิจกรรมผ่อนคลายด้วยดนตรี มีระดับความเครียดลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมผ่อนคลายความเครียดด้วยเพลงเก่า เดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความเครียด การประเมินระดับความเครียดและความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าด้วยตนเอง การจัดการความเครียด และการทำแผนจัดการความเครียดส่วนบุคคล (3) กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 1 (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ต่าง ๆ (5) กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 2 (6) กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 3 (7) กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 4 (8) กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 5 (9) กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 6

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการความเครียด ส่งเสริมสุขภาพใจ ด้วยดนตรี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( คุณกำชัย สากลเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด