กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพเพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในตำบลทุ่งพลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา


“ โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพเพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในตำบลทุ่งพลา ”

ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา กาฬแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพเพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในตำบลทุ่งพลา

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 2566/L2979/1/03 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพเพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในตำบลทุ่งพลา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพเพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในตำบลทุ่งพลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพเพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในตำบลทุ่งพลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 2566/L2979/1/03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถิติการเฝ้าระวังโรคของสำนักระบาดวิทยาในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2560-2563 และในปี 2563 ข้อมูล ณ เดือน ตุลาคม 2563 สถิติการป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน พบว่า ประเทศไทยไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคโปลิโอติดต่อกันเป็นเวลากว่า 20 ปี แต่ยังพบจำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนหลายโรคที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค, 2562) ในปี 2562 พบผู้ป่วยโรคหัดเยอรมัน 258 ราย (อัตราป่วย 0.39 ต่อประชากรแสนคน) จากเดิมมีผู้ป่วยปีละ 168-240 ราย แต่ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต สำหรับโรคไข้สมองอักเสบเจอี พบผู้ป่วย 14 ราย (อัตราป่วย 0.02 ต่อประชากรแสนคน) โดยสองปีก่อนหน้านี้พบจำนวน 10-14 ราย ผู้ป่วยโรคไอกรนจำนวน 77 ราย (อัตราป่วย 0.12 ต่อประชากรแสนคน) มีผู้เสียชีวิต 2 ราย โดยสองปีก่อนหน้านี้พบจำนวน 51-74 ราย (กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค, 2562) สำหรับโรคที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ โรคคอตีบ ในปี 2561-2562 พบผู้ป่วยยืนยันจำนวน 11 ราย และ 9 ราย ตามลำดับ และในปี 2562 พบผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบ 4 ราย (เป็นผู้ป่วยในอายุมากกว่า 15 ปี จำนวน 2 ราย) เสียชีวิต 2 ราย ไม่พบผู้ป่วยบาดทะยักในทารกแรกเกิดตั้งแต่ปี 2561-2562 ผู้ป่วยโรคคางทูมในปี 2562 มีจำนวนลดลง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี มีเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 5 หมู่บ้าน อยู่ในเขตการปกครองของ อบต.ทุ่งพลา จากรายงานการเฝ้าระวังโรค ของสำนักระบาดวิทยาในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2562-2564) และ ในปี 2563 ล่าสุด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 พบว่า ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน แต่ยังพบการ ขาดนัดจำนวนเด็กที่ขาดนัดวัคซีนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จำแนกเป็นรายหมู่บ้านสรุปได้ดังนี้มีจำนวนเด็กที่ขาดนัดจากเดือน เม.ย-ก.ย. 2565 เด็กที่ขาดนัดจำนวนทั้งหมด 30 คนจากจำนวนเด็กทั้งหมด 125 คนคิดเป็นร้อยละ 24 หมู่บ้านที่ขาดนัด มากที่สุด 1 หมู่บ้าน ได้แก่บ้านเกาะตา จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 16 รองลงมาคือ บ้านทุ่งพลา จำนวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 4.8 บ้านห้วยเงาะ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.6 บ้านป่าไร่ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.8 และบ้านเกาะวิหาร จำนวน 1 คนคิดเป็นร้อยละ 0.8 จำนวนผู้มารับบริการฉีดวัคซีนในคลินิกสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไม่คลอบคลุมตามเป้าหมาย (คือ ร้อยละ 95) ซึ่งเหตุผลส่วนใหญ่ คืออาศัยอยู่ต่างจังหวัด ย้ายถิ่นไปจังหวัดอื่นแต่ไม่ได้แจ้งเจ้าหน้าที่ และอยู่กับตา ยาย โดยไม่ได้สนใจเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนของเด็ก รวมถึงความตระหนักและภาวะเศรษกิจของผู้ปกครอง รวมถึงกลัวเด็กมีไข้ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จึงเห็นความสำคัญในการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพ เพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีน
  2. 2. เพื่อลดการป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. 1. เพื่อพัฒนาทักษะเครือข่ายสาธารณสุขความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับชนิดของวัคซีน ความสำคัญและเหตุผลที่ต้องฉีดวัคซีน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 125
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดนวัตกรรมในการติดตามการรับบริการวัคซีนในพื้นที่   2. ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในชุมชน   3. อสม. ต้นแบบด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สามารถถ่ายทอดความรู้และอธิบายเรื่องเกี่ยวกับวัคซีนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เกี่ยวกับชนิดของวัคซีน ความสำคัญและเหตุผลที่ต้องฉีดวัคซีน

วันที่ 13 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วางแผนการจัดทำโครงการ     2. ประชุม ปรึกษาหารือเกี่ยวกับรายละเอียดและขั้นตอนการดำเนินการตามโครงการ     3. สำรวจข้อมูลชุมชน เก็บข้อมูล ความครอบคลุมการฉีดวัคซีน ปัญหาอุปสรรค ในการนำบุตรหลานมาฉีดวัคซีนของประชาชนในตำบล     4. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติดำเนินการ
        5. มีแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับปัญหาในชุมชน     6. คัดเลือกตัวแทนอสม.หมู่ละ 2 คน และผู้ปกครองเด็กที่ขาดนัดเข้าร่วมโครงการ ตามความสมัครใจ     7. อบรมให้ความรู้ เพื่อเสริมพลังอำนาจในการนำบุตรหลานมาฉีดวัคซีนตามนัดให้ผู้เข้าร่วมโครงการ คือผู้ปกครองเด็กที่ขาดนัด และ อสม. จำนวน 40 คน     8. ให้อสม.ที่เข้าร่วมโครงการติดตามผู้ปกครองนำบุตรรับบริการสร้างภูมิคุ้มกันโรคในวันคลินิกในทุกครั้งที่มีนัด
        9. อสม.ที่เข้าร่วมโครงการ อยู่จุดบริการการคัดกรองโภชนาการเด็ก ในวันคลินิกวัคซีน   10. เมื่อครบ 1 ปี  ประเมินการนำบุตรเข้ารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของผู้ปกครองตามนัด

    11. จัดมหกรรมสุขภาพเด็กสุขภาพดีโดยมีการมอบเกียรติบัตร และชุดพัฒนาการเด็ก สำหรับเด็กฉีดวัคซีนครบ         ตามเกณฑ์ 5 ปี     12. ประเมินติดตาม โดยคณะกรรมการ     13. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนงานต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดนวัตกรรมในการติดตามการรับบริการวัคซีนในพื้นที่     2. ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในชุมชน     3. อสม. ต้นแบบด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สามารถถ่ายทอดความรู้และอธิบายเรื่องเกี่ยวกับวัคซีนได้

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีน
ตัวชี้วัด : 1 ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และนำบุตรหลานมาฉีดวัคซีนตามนัด

 

2 2. เพื่อลดการป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : 2. ความครอบคลุมวัคซีนทุกชนิดไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95

 

3 1. เพื่อพัฒนาทักษะเครือข่ายสาธารณสุขความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด : 1เกิด อสม.ต้นแบบด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคหมู่ละ 2 คน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 125
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 125
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีน (2) 2. เพื่อลดการป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 1. เพื่อพัฒนาทักษะเครือข่ายสาธารณสุขความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับชนิดของวัคซีน ความสำคัญและเหตุผลที่ต้องฉีดวัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพเพื่อรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในตำบลทุ่งพลา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 2566/L2979/1/03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา กาฬแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด