กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน ”

ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางซารีนา สามะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน

ที่อยู่ ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2541-2-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2541-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นเด็กในวัยเริ่มแรกของชีวิตนับเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งเป็นความหวังของครอบครัวเป็นผู้สืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมเป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศอนาคตของประเทศชาติจึงขึ้นอยู่กับคุณภาพของเด็กเด็กที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจวัยนี้จะเป็นพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อพัฒนาการในช่วงอื่นๆ ของชีวิตอย่างมากไม่ว่าจะเป็นพัฒนาการทางด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์ สังคมและจริยธรรมซึ่งจะเป็นผู้ที่สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและเป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติกิจกรรมส่งเสริมการอ่านนับเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถกระตุ้นหรือเร้าใจเด็กให้มีความสนใจการอ่านพัฒนาการอ่านและสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้ประโยชน์ได้รวมถึงให้มีการอ่านอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งก่อเกิดเป็นนิสัยรักการอ่าน โดยมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลายอาทิการเล่านิทานการเสนอสื่อการแสดงละครบทบาทสมมติการเล่นเกม การจัดนิทรรศการเพื่อกระตุ้นให้อยากอ่านพัฒนาการอ่านสนุกสนานแฝงสาระให้ทุกคนมีส่วนร่วมก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ซึ่งนับว่าเป็นกิจกรรมที่ความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กเป็นอย่างยิ่งดังนั้นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยต้องเริ่มให้เกิดพฤติกรรมการอ่านเริ่มจากให้เด็กถือหนังสือเข้าใจว่าหนังสือคืออะไรสนใจดูภาพ พัฒนาให้เด็กรู้จักใช้หนังสือพัฒนาเป็นผู้ฟังและเข้าไปมีส่วนร่วมในการอ่านพูดคุยกับผู้ใหญ่เกี่ยวกับเนื้อเรื่องในหนังสือต่อมาเด็กจะสามารถเล่าเรื่องโดยใช้คำพูดตนเชื่อมโยงคำสามารถนำคำมาแต่งประโยคเพื่อใช้ในการอ่านหนังสือได้เพราะกิจกรรมที่หลากหลายที่จะช่วยพัฒนาการทางด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์สังคมและจริยธรรมผ่านการจัดกิจกรรมดังกล่าวและมีส่วนช่วยเสริมสร้างทักษะชีวิตให้แก่เด็กให้มีความรู้ความสามารถในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับร่างกายสังคมและจิตใจของเด็กให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จในชีวิตดังนั้นการพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตด้านสุขภาพกายสุขภาพจิตสำหรับเด็กปฐมวัยจึงน่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนากิจกรรมที่เหมาะสมแก่เด็กปฐมวัยและส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาให้สอดคล้องกับทักษะการใช้ชีวิตประจำวันเพื่อดำเนินชีวิตในสังคมอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไปในอนาคตอีกทั้งปัจจุบันคนไทยตื่นตัวในเรื่องส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากเพราะได้ผลออกมาว่าเด็กไทยมีพัฒนาการล่าช้าประมาณ 30% คู่มือ DSPM จึงได้ถูกผลิตขึ้นเพื่อประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (อายุ 0 – 5 ปี) ก่อให้เกิดผลดีต่อการสร้างคนที่มีประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติอย่างมาก ดังนั้นโรงเรียนอนุบาลตำบลริโก๋จึงจัดโครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทานและฝึกปฏิบัติการคัดกรองการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตามคู่มือ DSMP ขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้วยการเล่านิทานและฝึกทักษะการเฝ้าระวังการคัดกรองการส่งเสริมพัฒนาเด็กตามคู่มือ DSPM ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน
  2. เพื่อให้ความรู้ และฝึกทักษะการเฝ้าระวัง การคัดกรอง การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ตามคู่มือ DSMP

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มแม่อาสา/จิตอาสา มีกิจกรรมการเล่านิทานอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง
  2. กลุ่มเด็กที่มีพัฒนาการช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการ - เทคนิคการเล่านิทาน - หลักการเลือกนิทานให้เหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงอายุ - การเฝ้าระวัง การคัดกรอง การส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามคู่มือ DSMP - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการเล่านิทาน และกิจกรรมการมีส่วนร่วมของครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มแม่/จิตอาสามีกิจกรรมการเล่านิทานอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองที่มีทักษะในการเล่านิทานและการเฝ้าระวัง การคัดกรอง การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 – 5 ปี ตามคู่มือ DSMP อย่างน้อย 2 คน/หมู่บ้าน
0.00 80.00

 

2 เพื่อให้ความรู้ และฝึกทักษะการเฝ้าระวัง การคัดกรอง การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ตามคู่มือ DSMP
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้ฟังการเล่านิทานที่เหมาะสมตามช่วงวัย
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน (2) เพื่อให้ความรู้ และฝึกทักษะการเฝ้าระวัง การคัดกรอง การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก  ตามคู่มือ DSMP

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาเด็กสมวัยด้วยการเล่านิทาน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2541-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซารีนา สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด