กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋


“ โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กปฐมวัย ”

ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางซารีนา สามะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2541-2-04 เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กปฐมวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2541-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วัยเด็กโดยเฉพาะในช่วงวัย2-5 ปีเพราะความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กจะพัฒนาได้มากในช่วงวัยนี้เด็กจะซึมซับได้จากสิ่งแวดล้อมรอบข้างผ่านการสังเกตและจากประสบการณ์ตรงการเอาใจใส่เด็กทั้งด้านสุขภาพร่างกายการเข้าสังคมเด็กที่ได้รับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์เด็กจะรู้จักการควบคุมอารมณ์และการแสดงออกทางอารมณ์ของตนเองทั้งดีและไม่ดีได้อย่างเหมาะสมกับบุคคลสถานที่เวลาและสถานการณ์เด็กจะมีพื้นฐานอารมณ์ที่ดีรู้สึกภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่นซึ่งจะเอื้ออำนวยให้เด็กประสบความสำเร็จในชีวิตในทางตรงกันข้ามหากเด็กไม่ได้รับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์จะส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็กเช่นเอาแต่ใจตัวเองไม่เห็นอกเห็นใจคนอื่นไม่มีความอดทนก้าวร้าวชอบหาเรื่องทะเลาะกันอิจฉาขาดความรับผิดชอบและทำร้ายผู้อื่นซึ่งปัญหาเหล่านี้จะปรากฏชัดเจนและรุนแรงขึ้นในระยะที่เด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่นความฉลาดทางอารมณ์เป็นทักษะที่เกิดขึ้นได้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ซึ่งต้องเริ่มปลูกฝังตั้งแต่วัยเด็กมีแบบอย่างที่ดีควบคู่กับการอบรมสั่งสอนโดยเฉพาะพ่อแม่ผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กมีการเปิดโอกาสให้เด็กได้รับรู้แสดงอารมณ์ได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งการสอนให้เด็กจัดการกับอารมณ์ของตนเองควบคุมอารมณ์มีวินัยรู้จักการอดทนรอคอยรู้จักเข้าใจและเห็นใจคนอื่นสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับคนอื่นได้อย่างเหมาะสมจึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ควรเข้าไปส่งเสริมพัฒนาเด็กโดยเฉพาะทักษะสมอง ExecutiveFunctions (EF)ซึ่งเป็นทักษะที่จะช่วยให้เด็ก “คิดเป็นทำเป็นเรียนรู้เป็นแก้ปัญหาเป็นอยู่กับคนอื่นเป็นและหาความสุขเป็น ” ซึ่ง EF จะช่วยให้เด็กมีเหตุมีผลยับยั้งชั่งใจได้กำกับอารมณ์และหาความสุขได้สามารถวางแผนทำงานเป็นช่วยให้เด็กพัฒนาตนจากการมีชีวิตที่มีคุณค่าแห่งคุณงามความดีบ่มเพาะคุณธรรมจริยธรรม ดำเนินชีวิตที่ดีนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติค่านิยมความเชื่อและพฤติกรรมที่ดีงามต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะแก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็ก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กทั้งหมด
  2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กโดยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กให้กับผู้ปกครอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดความร่วมมือระหว่างครู/ผู้ปกครองเด็กในการมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
  2. เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์
  3. มีเครือข่ายผู้ปกครองในการดูแลเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กให้กับผู้ปกครอง

วันที่ 12 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • บรรยายความรู้ เรื่อง ลักษณะพัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็ก
  • บรรยายความรู้ เรื่อง วิธีการช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ที่ดี
  • บรรยายความรู้ เรื่อง พฤติกรรมที่เป็นปัญหาทางด้านจิตใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองได้รับความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะแก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็ก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กทั้งหมด
ตัวชี้วัด : พัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็ก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กทั้งหมด
0.00 80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กโดยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ตัวชี้วัด : พัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กโดยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะแก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็ก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กทั้งหมด (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กโดยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กให้กับผู้ปกครอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กปฐมวัย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2541-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซารีนา สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด