กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและคัดกรองโรคเสี่ยงในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางซูลีนา อายุป

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและคัดกรองโรคเสี่ยงในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2476-01-024 เลขที่ข้อตกลง 044/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและคัดกรองโรคเสี่ยงในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและคัดกรองโรคเสี่ยงในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและคัดกรองโรคเสี่ยงในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2476-01-024 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี ๒๕๖5 จะมีประชากรที่มี อายุตั้งแต่ ๖๐ ปีอยู่ราว ๑ ใน ๖ ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมี ประชากร อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป เกินร้อยละ ๑๐ หรือ ประชากรอายุ ๖๕ ขึ้นไป เกินร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยที่ยังมิได้คำนึงถึงเรื่อง ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูซึ่งสูงขึ้นตามอายุ ซึ่งขณะที่อัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น อาจจะ นำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยบั้น ปลายของชีวิต เป็นวัยที่ต้องพึ่งพาบุตรหลาน เพราะมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ปัญหาด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยๆในผู้สูงอายุได้แก่ เกิดภาวะ กระดูกหักง่าย สายตาไม่ดี หูตึง ฟันไม่ดี เป็นลมบ่อย เรอบ่อย ท้องผูก เบาหวาน หลงลืมบ่อย หัวใจและหลอด เลือด และปัญหาทางอารมณ์ ผู้สูงอายุเป็นวัยที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลง มีภาวะร่างกายที่เสื่อมถอยลง มีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม สาเหตุเนื่องจากผู้สูงอายุและครอบครัวให้ความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพน้อยลง เช่น เรื่องการบริโภคอาหาร การขาดการออกกำลังกาย การไม่ได้อยู่ร่วมกันในครอบครัว ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆขึ้นได้ องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอน มีจำนวนผู้สูงอายุ๓ปีย้อนหลัง ปีงบประมาณ ๒๕61 จำนวน 764 คน ปีงบประมาณ ๒๕62 จำนวน 792 คน และปีงบประมาณ ๒๕๖3จำนวน 859 คน ซึ่งจำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นทุกปี และผู้สูงอายุแต่ละคนก็จะมีปัญหาสุขภาพในด้านต่างๆ ทั้งปวดเข่า สมองเสื่อม มีโรคประจำตัว ผู้สูงอายุบางรายติดเตียง เป็นต้น ทางองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ ได้ตระหนักถึงคุณค่า ความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ไม่เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองโรคเสี่ยง เรื้อรังในผู้สูงอายุ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุที่ภาวะเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และวิธีการรักษาเบื้องต้น
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรักษา ได้รับการส่งต่อไปรักษาต่อเนื่อง
  4. เพื่อให้ความรู้ทางด้านสุขภาพอนามัยแก่ผู้สูงอายุและครอบครัว
  5. เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการแดูแลตนเอง และเพื่อคนในครอบครัวเข้าใจและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุที่มีผลคัดกรองผิดปกติได้รับการตรวจวินิจฉัยและดูแลต่อเนื่อง
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้นและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
  3. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง
  4. คนในชุมชนเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ
  5. ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุมากขึ้น
  6. สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเสี่ยง

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเสี่ยง 1. คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเบื้องต้น เช่นวัดความดันโลหิตสูง คัดกรองเบาหวานชั่งน้ำหนักวัดรอบเอวรณรงค์ลดพุง ตรวจสุขภาพฟัน คัดกรองโรคซึมเศร้า เป็นต้น 2. คัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุและให้ความรู้การดูแลสายตาเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ 3. คัดกรองประเมินผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเสื่อมในตำบลดุซงญอตามระดับความรุนแรง  เพื่อเข้ารับการอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเอง การออกกำลังกายและรับการฝึกบำบัดเพื่อลดอาการปวดเข่าตรวจข้อเข่ากิจกรรมทางกาย การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ 4. คัดกรองสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ 5. คัดกรองผู้สูงอายุที่ป่วยเรื้อรัง จากทะเบียนผู้ป่วย รพ.สต. พบผู้สูงอายุป่วยมาด้วยอาการปวดเมื่อยและปวดกล้ามเนื้อ รวมไปถึงกลุ่มเสี่ยง ต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การปรนับเปลี่ยนพฤติกรรม และป้องกันโรคด้วยตนเอง โดยการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุที่มีผลคัดกรองผิดปกติได้รับการตรวจวินิจฉันและดูแลต่อเนื่อง
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้นและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
  3. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง
  4. คนในชุมชนเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ
  5. ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุมากขึ้น
  6. สมาชิกในครองครัวมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองโรคเสี่ยง เรื้อรังในผู้สูงอายุ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุที่ภาวะเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และวิธีการรักษาเบื้องต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรักษา ได้รับการส่งต่อไปรักษาต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ความรู้ทางด้านสุขภาพอนามัยแก่ผู้สูงอายุและครอบครัว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการแดูแลตนเอง และเพื่อคนในครอบครัวเข้าใจและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองโรคเสี่ยง เรื้อรังในผู้สูงอายุ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก และภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุที่ภาวะเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และวิธีการรักษาเบื้องต้น (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรักษา ได้รับการส่งต่อไปรักษาต่อเนื่อง (4) เพื่อให้ความรู้ทางด้านสุขภาพอนามัยแก่ผู้สูงอายุและครอบครัว (5) เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการแดูแลตนเอง และเพื่อคนในครอบครัวเข้าใจและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและคัดกรองโรคเสี่ยงในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2476-01-024

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซูลีนา อายุป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด