กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุขบ้านในใส หมู่ที่ 15 ตำบลละงู ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายพิชิต กุลโรจนสิริ

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุขบ้านในใส หมู่ที่ 15 ตำบลละงู

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-02-002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุขบ้านในใส หมู่ที่ 15 ตำบลละงู จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุขบ้านในใส หมู่ที่ 15 ตำบลละงู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุขบ้านในใส หมู่ที่ 15 ตำบลละงู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5313-02-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 86,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดสตูล ผู้สูงอายุจำนวนทั้งสิ้น 39,467 คน คิดเป็นร้อยละ 14.85 ของประชากรทั้งหมด เป็นชาย 17,835 คน (ร้อยละ45.19)หญิง จำนวน 21,632 (ร้อยละ 54.81) อำเภอที่มีอัตราส่วนของผู้สูงอายุมากที่สุดเมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมด คืออำเภอละงู ร้อยละ 15.54 รองลงมาคือ อำเภอเมืองสตูล ร้อยละ 15.45น้อยที่สุด คือ อำเภอมะนัง ร้อยละ 12.46 ผู้สูงอายุที่ผ่านการประเมินศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตประจำวัน (ADL) จำนวนทั้งหมด 28,104 คน จากจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 39,467 คน คิดเป็น (ร้อยละ 71.21) จำแนกเป็นกลุ่มที่ 1 (ช่วยเหลือตัวเองได้และ/หรือ ช่วยเหลือผู้อื่น ชุมชน และสังคมได้) ร้อยละ 97.4 สูงสุดที่ อำเภอละงู (ร้อยละ 99.5) น้อยที่สุดอำเภอเมืองสตูล (ร้อยละ 94.0) กลุ่มที่ 2 (ช่วยเหลือตัวเองและดูแลตนเองได้บ้าง) ร้อยละ 2 สูงที่สุดอำเภอมะนัง (ร้อยละ 5.5) น้อยที่สุดอำเภอละงู (ร้อยละ0.4) กลุ่มที่ 3 (ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้) ร้อยละ 0.6 สูงที่สุดอำเภอเมืองสตูลและอำเภอท่าแพ (ร้อยละ 0.8) น้อยที่สุดอำเภอละงู (ร้อยละ 0.2)
เพื่อพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม การคุ้มครองดูแลผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านในใสหมู่ที่15ตำบลละงูอำเภอละงูจังหวัดสตูลมี400ครัวเรือนประชากรทั้งหมด1,102คนแยกเป็นชายจำนวน542คนหญิงจำนวน557 คนประชากรผู้สูงอายุจำนวน175คนแยกประเภทผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมจำนวน150คนกลุ่มติดบ้านจำนวน20คนกลุ่มติดเตียง5คนข้อมูลด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนบ้านในใส 1. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพจำนวน50คนแยกเป็นโรคความดันจำนวน20คนโรคเบาหวานจำนวน9คนโรคไขมันในเลือดจำนวนจำนวน8คนโรคหัวใจ จำนวน5คนโรคไตจำนวน4คนโรคเก๋าส์จำนวน4คนโรคพากินสันจำนวน4คน 2. ผู้สูงอายุที่ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพจำนวน125คน 3. ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพคือออกกำลังกายเป็นประจำ จำนวน80คนบริโภคอาหารที่เหมาะสมจำนวน175คน ทั้งนี้จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นทางชมรมผู้สูงอายุบ้านในใสได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายจิตใจและสังคมโดยชมรมผู้สูงอายุบ้านในใสจะเป็นกลไกสำคัญในการดำเนินงานด้วยเหตุนี้จึงสมัครเข้าร่วมโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงูเพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนบ้านในใสมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัยทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ที่ 1.ประชุมคณะทำงานจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 20 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ
  3. ออกกำลังกายของผู้สูงอายุ
  4. เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจผู้สูงอายุติดบ้าน
  5. เวทีคืนข้อมูลสุขภาพผู้สูงวัย
  6. กิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ 2.ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ 3.ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 2 อบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 1 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมพัฒนาการศักยภาพผู้สูงอายุโดยวิทยากรจาก รพ.สต.บ้านในเมืองเพื่อให้ผู้สูงอายุให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง เช่น สุขภาพผู้สูงอายุให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง เช่น สุขภาพผู้สูงอายุที่อาจเกิดขึ้นได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เฝ้าระวังตนเอง การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ ตลอดจนเรื่องของการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลให้ผู้สูงอายุและทบทวนกติการ่วมเพื่อการทำงานโครงการให้มีประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้สูงอายุได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพคิดเป็นร้อยละ90%

 

60 0

2. ออกกำลังกายของผู้สูงอายุ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ออกกำลังกายของผู้สูงอายุโดยมีการออกกำลังกายให้แก่ผู้สูงอายุที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายร่วมกันหรือออกกำลังกายที่บ้านอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที อย่างน้อย 6 เดือน จำนวน 72 วัน และมีการติดตามประเมินการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพของผู้สูงอายุเดือนละ 1 ครั้ง จัดซื้อน้ำดื่มสำหรับผู้มาออกกำลังกาย วันละ 100 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกายเป็นประจำอย่างต่อเนื่องทำให้สุขภาพจิตและสุขภาพร่างกายดีขึ้นคิดเป็นร้อยละ 90 %

 

50 0

3. ที่ 1.ประชุมคณะทำงานจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 20 คน

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน 1.1 กิจกรรมย่อย -ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ -แบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน -มอบหมายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจโครงการวัตถุประสงค์และความเป็นมาของโครงการ

 

50 0

4. เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจผู้สูงอายุติดบ้าน

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงโดยคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุม.15 บ้านในใส พร้อมสำรวจข้อมูลสภาพปัญหาของผู้สูงอายุเพื่อนำไปสู่การปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุและส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาร่วมกับชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชนได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

 

25 0

5. กิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการจัดกิจกรรม เพื่อสรุปผลการขับเคลื่อนการดำเนินงาน วางแผนการจัดกิจกรรมในระยะต่อไป ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุร่วมกันถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมทั้งหมด และวางแผนในระยะต่อไป

 

70 0

6. เวทีคืนข้อมูลสุขภาพผู้สูงวัย

วันที่ 22 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-เวที่คืนข้อมูลสุขภาพผู้สูงวัยและร่วม กำหนดทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุม.๑๕ บ้านในใส่ประกอบด้วยผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายจำนวน๕๐ คน โดยจัดขึ้นเมื่อวันที่๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๖ร่างกำหนดการ๐๙.๐๐ น. เปิดการประชุมและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม๐๙.๓๐ น. กล่าวเปิดงานโดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลละงู๑๐.๐๐ น. คืนข้อมูลสุขภาพโดยประธานชมรมผู้สูงอายุ ม. ๕ บ้านในใส๑๐.๓๐ น. เวทีเสวนาทิศทางในการทิศทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ม. ๕ บ้านในใส โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยตัวแทนผู้สูงอายุ ผู้แทนท้องที่ ท้องถิ่นรพ.สต. เป็นต้น๑๑.๓๐ น. พิธีมอบประกาศเกียรติคุณให้กับผู้สูงอายุที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีขึ้น๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารร่วมกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในชุมชน๑๓.๓๐ น. กิจกรรมสันทนาการ การแสดงเต้นบาสโลบ การแข่งขันเตะปี๊บของผู้สูงวัย๑๕.๒๐ น. ประกาศกติกาการอยู่ร่วมกันของผู้สูงอายุบ้านในใสและมอบของรางวัลแก้ผู้ร่วมกันกิจกรรม ๑๖.๐๐ น. ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับทราบถึงข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนและได้รวมถึงร่วมกำหนดทิศทางเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตมีผู้เข้าร่วม 80 %

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ที่ 1.ประชุมคณะทำงานจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 20 คน (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ (3) ออกกำลังกายของผู้สูงอายุ (4) เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจผู้สูงอายุติดบ้าน (5) เวทีคืนข้อมูลสุขภาพผู้สูงวัย (6) กิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุขบ้านในใส หมู่ที่ 15 ตำบลละงู จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-02-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิชิต กุลโรจนสิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด