กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน


“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู ”

ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางน้ำฝน พรหมน้อย

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู

ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2486-1-02 เลขที่ข้อตกลง 2/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2486-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,855.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 27 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์อาหารช่วยสร้างเสริมให้ร่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย และควบคุมการทำงานของร่างกายให้ปกติการกินอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการคือ อาหารดีมีประโยชน์สะอาด ปลอดภัยและมีปริมาณเพียงพอโดยคำนึงถึงคุณค่าของอาหาร ตลอดจนปัญหาสุขภาพอันเนื่องมาจากการขาดอาหาร หากบุคคลใดรับสารอาหารผิดเบี่ยงเบนไปจากปกติอาจเกิดจากได้รับสารอาหารน้อยกว่าปกติคือเหตุเนื่องจากความบกพร่องต่างๆจากการกิน การย่อย การดูดซึม ในระยะ2-3 ปี แรกของชีวิตจะมีผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและการเรียนภายหลัง เนื่องจากเป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตของสมองสูงสุดเมื่ออายุ 3 ปีมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตถึงร้อยละ 80 สำหรับผลกระทบทางร่างกายภายนอกที่มองเห็นได้คือ เด็กจะมีรูปร่างเตี้ย เล็ก ซูบผอมผิวหนังเหี่ยวย่น เนื่องจากขาดไขมันชั้นผิวหนังนอกจากนี้อวัยวะภายในต่างๆ ก็ได้รับผลกระทบ เช่น กับหัวใจจะพบว่ากล้ามเนื้อหัวใจไม่แน่นหนาและการบีบตัวไม่ดีตับจะพบไขมันแทรกอยู่ในตับเซลล์เนื้อตับมีลักษณะบางและบวมเป็นน้ำสาเหตุให้ทำงานได้ไม่ดีนอกจากการขาดสารอาหารแล้วการได้รับอาหารเกิน ในรายที่อ้วน ก็ถือเป็นภาวะทุพโภชนาการ เป็นการได้รับอาหารมากเกินความต้องการ พลังงานที่มีมากนั้นไม่ได้ใช้ไปพลังงานส่วนเกินเหล่านั้น ก็จะแปลงไปเป็นคลอเรสเตอรอลเกาะจับแน่นอยู่ตามส่วนต่างๆของร่างกายและอาจลุกลามเข้าสู่เส้นเลือด ผลที่ตามมาก็คือ โรคอ้วนโรคเบาหวานโรคหัวใจ และโรคต่างๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูบู ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ปี 2566 เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงมีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ) และภาวะโภชนาการผอมในเด็กอายุ 0-6 ปี
  2. เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี
  3. เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม(LBW:Low birth weight) ในด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในกลุ่มพ่อ/แม่/ผู้ปกครองพร้อมเด็กอายุ ๐-๖ ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.)/ผอม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี ลดลง
  2. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ เข้าใจในเรื่องโภชนาการและสามารถส่งเสริมโภชนาการให้บุตรได้ถูกต้อง
  3. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการส่งพบแพทย์ทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในกลุ่มพ่อ/แม่/ผู้ปกครองพร้อมเด็กอายุ ๐-๖ ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.)/ผอม

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในกลุ่มผู้ปกครอง และเด็กที่มีปัญหาอายุ ๐ -๖ ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.)/ผอม (เฉพาะกลุ่มในหมู่บ้านไม่รวมกับกลุ่มใน ศพด.) จำนวน 27 คน 2.ส่งเสริมการดื่มนม รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เสริมสร้างภาวะโภชนาการเด็กอายุ ๐-๖ ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และ ผอม จำนวน 27 คน
3.ติดตามชั่งน้ำหนักและประเมินภาวะทุพโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปีที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และ ผอม มีการติดตามเดือนละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กอายุ 0-6ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และภาวะโภชนาการผอมลดลงจากปี 2565 อย่างน้อยร้อยละ 66.67 2.เด็กอายุ ๐ - ๖ ปี มีประวัติภาวะโภชนาการสมส่วน ร้อยละ 66.67 3.พ่อ/แม่/ผู้ปกครองที่ดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม (LBW : Low birth weight) สามารถประเมินพัฒนาการในช่วงที่เด็กอายุ 9 เดือน และ 18 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐานDSPM ด้วยตัวเองได้ ร้อยละ 100

 

27 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ) และภาวะโภชนาการผอมในเด็กอายุ 0-6 ปี
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และภาวะโภชนาการผอมลดลงจากปี 2565 อย่างน้อยร้อยละ 50
0.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-6 ปี มีประวัติภาวะโภชนาการสมส่วน มากกว่าร้อยละ 70
0.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม(LBW:Low birth weight) ในด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : พ่อ/แม่/ผู้ปกครองที่ดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม (LBW : Low birth weight)สามารถประเมินพัฒนาการในช่วงที่เด็กอายุ 9 เดือน และ 18 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐานDSPM ด้วยตัวเองได้ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 27
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ) และภาวะโภชนาการผอมในเด็กอายุ 0-6 ปี (2) เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี (3) เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม(LBW:Low birth weight) ในด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในกลุ่มพ่อ/แม่/ผู้ปกครองพร้อมเด็กอายุ ๐-๖ ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.)/ผอม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2486-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางน้ำฝน พรหมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด