กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการหนูน้อยโละใสใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา หมีนคลาน

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยโละใสใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5312-2-04 เลขที่ข้อตกลง 8/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยโละใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยโละใสใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยโละใสใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5312-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 86,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรงเรียนบ้านตะโละใส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลชั้นปีที่ 2 ถึงระดับประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนรวมทั้งสิ้นจำนวน 568 คนแยกเป็นระดับชั้นปฐมวัย จำนวน 114 คน และระดับชั้น ป.1-ป.6 จำนวน 454 คน มีผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งสิ้นจำนวน 32 คน โรงเรียนมีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนในการจัดการศึกษา โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 15 คน และมีเครือข่ายผู้ปกครอง จำนวน 110 คน (ห้องเรียนละ 5 คน จำนวน 22 ห้องเรียน) เป็นตัวแทนหรือผู้นำในการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมต่างๆ สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคนเริ่มตั้งแต่เกิดจนถึงตาย สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต เพราะการมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ มีประสิทธิภาพและเกิดคุณภาพ และการมีสุขภาพดีเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย ดังนั้นในการพัฒนาส่งเสริมด้านสุขภาพ สุขบัญญัติของเด็กจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญอย่างยิ่งของการพัฒนา โรงเรียนบ้านตะโละใสเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเป็นอย่างมาก เพราะเด็กที่มี สุขภาพดีจะส่งผลต่อการเรียนที่ดี มีความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา และบุคคลที่มีความสำคัญในการปลูกฝังและเตรียมความพร้อมในการดูแลดูแลสุขภาพให้กับเด็กคือผู้ปกครองและครู เด็กควรได้รับการส่งเสริมการดูแลเรื่องสุขบัญญัติ การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การบริโภคอาหารที่ถูกโภชนาการ การออกกำลังกาย การเสริมสร้างสุขภาพ และสุขภาพองค์รวม (Holistic Health System) โดยมองว่าสุขภาพมิใช่เป็นเพียงการตั้งรับเพื่อซ่อมสุขภาพเท่านั้น แต่ควรส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยให้สามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง
สุขภาพช่องปากเป็นสิ่งสำคัญและปัญหาสุขภาพช่องปากก็ยังคงเป็นปัญหาสำคัญที่คุกคามสุขภาพ ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ทรมาน แม้ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต แต่ก็ส่งผลต่อสุขภาพโดยรวม แม้ว่าการป้องกันควบคุมโรคในช่องปากยังคงดำเนินการต่อเนื่องตลอดมา แต่มีแนวโน้มการเกิดโรคในช่องปากยังลดลงไม่มากนัก โดยเฉพาะโรคฟันผุในเด็กเป็นปัญหาที่เด่นชัด ซึ่งเมื่อไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที โรคจะลุกลามและสูญเสียฟันในที่สุด ส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย การสบฟัน ตลอดการใช้ชีวิตประจำวัน พบว่าแม้ส่วนใหญ่จะมีการแปรงฟันอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป แต่การแปรงฟันส่วนใหญ่ไม่มีความละเอียดอ่อนและยังไม่สะอาด อาจจะส่งผลให้ปัญหาฟันผุได้ตามมาเช่นกัน
ภาวะโภชนาการที่ดี เป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิต เนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย หากขาดอาหารสิ่งที่พบคือเด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย ซึ่งเป็นการแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงร่างกายเท่านั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วย ทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้า เมื่อเป็นผู้ใหญ่จะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ดังนั้น อาหารเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพของเด็ก รวมทั้งพัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ 5 หมู่ และมีความหลากหลาย ในปริมาณที่พอเหมาะ จะมีการเจริญเติบโตดี การพัฒนาของสมองดี เด็กจะฉลาด เรียนรู้เร็ว ซึ่งส่งผลให้พัฒนาการของเด็กเหมาะสมตามวัย และในทางตรงข้าม เด็กที่ได้รับสารอาหารไม่พียงพอ ย่อมมีผลทำให้การพัฒนาของสมองไม่ดี เป็นผลให้มีพัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย และจากข้อมูลการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของเด็กระดับปฐมวัย (4-6 ขวบ) โรงเรียนบ้านตะโละใส ในปีการศึกษา 2563-2565 พบว่าเด็กมีภาวะทุพโภชนาการอยู่หลายประเด็น เช่น เด็กบางคนน้ำหนักเท่าเกณฑ์ แต่ส่วนสูงไม่ได้ตามเกณฑ์ เด็กบางคนน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์แต่ส่วนสูงตามเกณฑ์ เด็กบางคนน้ำหนักมากเกินเกณฑ์แต่ส่วนสูงเท่าเกณฑ์ เด็กบางคนทั้งน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากเกินเกณฑ์ ซึ่งเด็กเหล่านี้เป็นเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ต้องให้การดูแลจากทั้งทางโรงเรียนและจากผู้ปกครองนักเรียน การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก จะทำให้ทราบว่าเด็กได้รับสารอาหารเพียงพอหรือไม่ ทั้งนี้การเจริญเติบโตของเด็ก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย จึงจำเป็นต้องมีการประเมินการเจริญเติบโตทุก 3 เดือน เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโต ทำให้สามารถส่งเสริมการเจริญเติบโต หรือป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาโภชนาการด้านขาดและเกิน และหากมีปัญหาโภชนาการแล้ว จะได้จัดการแก้ไขได้ทันท่วงที สื่อและของเล่น จัดเป็นปัจจัยที่สำคัญปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก สื่อและของเล่นแต่ละประเภทมีส่วนในการพัฒนาเด็กแตกต่างกันไป การเลือกใช้และผลิต จึงเป็นสิ่งสำคัญที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมทั้งครู จะมีบทบาทในการพิจารณาให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยของเด็ก และตรงตามวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะการนำสื่อและของเล่นมาใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้น การใช้สื่อ ผลิตสื่อและของเล่นสำหรับเด็กปฐมวัย จึงควรคำนึงถึงหลักการผลิต การเลือกใช้ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เพื่อให้สามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านต่างๆ ได้อย่างครบถ้วน โรงเรียนบ้านตะโละใส สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล และกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ในฐานะสถาบันที่พัฒนาเด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่ต้องส่งเสริมพัฒนาการ กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียนและเยาวชน สถานศึกษา ชุมชน และครู บุคลากร ผู้ปกครอง มีบทบาทสำคัญยิ่งในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น จึงได้ดำเนินการโครงการหนูน้อยโละใสใส่ใจสุขภาพ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ เพื่อดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดี ฟันที่แข็งแรง มีภาวะโภชนาการดี มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลาน
  2. 2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมน้องหนูโละใสฟันดียิ้มสวยและมีโภชนาการดี
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสื่อมหัศจรรย์พัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กระดับปฐมวัยและเด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
  2. เด็กระดับปฐมวัยและเด็กก่อนวัยเรียนมีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ มีสุขภาพแข็งแรง
  3. เด็กระดับปฐมวัยและเด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดี ฟันที่แข็งแรง มีภาวะโภชนาการดี มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลาน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดี มีฟันที่แข็งแรง และมีภาวะโภชนาการดีขึ้น 2. ผู้ปกครองเด็กระดับปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลบุตรหลานในเรื่องช่องปาก ฟัน และโภชนาการที่ดีได้
0.00

 

2 2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองเด็กระดับปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สื่อ ผลิตสื่อง่ายๆ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กและนำไปปรับใช้ได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดี ฟันที่แข็งแรง มีภาวะโภชนาการดี มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลาน (2) 2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมน้องหนูโละใสฟันดียิ้มสวยและมีโภชนาการดี (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสื่อมหัศจรรย์พัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยโละใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5312-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา หมีนคลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด